ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมอตำแย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนข้อมูลลอกจาก nn43v.blogspot.com/2009_10_01_archive.html
บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
[[ไฟล์:Eucharius Rößlin Rosgarten Childbirth.jpg|thumb|หมอตำแยในคริสต์ศตวรรษที่ 15]]
 
'''หมอตำแย''' หมายถึง ผู้ที่ช่วยทำ[[คลอด]]ให้กับผู้หญิง ในสถานที่ที่ไม่มีระบบ[[การแพทย์]]ที่ทันสมัย ปัจจุบันก็ยังมีหมอตำแยอยู่ตามชนบทที่ห่างไกลความเจริญ
 
[[หมวดหมู่:แพทยศาสตร์สูติศาสตร์]]
== ประวัติ ==
[[หมวดหมู่:การแพทย์แผนโบราณ]]
ในประเทศไทยสมัยก่อนการเกิดมักเป็นหน้าที่ของ ผู้หญิง ที่มีประสบการณ์ ในการทำคลอดที่เราเรียกว่า หมอตำแย มีเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับหมอตำแย มากมายโดยเฉพาะใน ท้องถิ่นที่ยังไม่ได้รับความเจริญเช่นปัจจุบัน หมอตำแยของไทยจะมีฐานะที่เป็นที่ยอมรับในสังคมมาก หมอตำแยมักจะไปให้บริการตามบ้านของผู้ที่จะคลอด จนกระทั่งประเทศไทยได้มีการเปิดการเรียนการสอนในวิชาผดุงครรถ์ ในเวลาต่อมา จึงทำให้คนไทยได้เรียนรู้เรื่องการทำคลอดมากขึ้น และ แน่นอนว่าวิชาที่เป็นหลักการและ เอกสารนั้นมักจะมาจากต่างประเทศ ในอดีตนั้นประเทศไทยจะไม่มีหมอตำแยที่เป็นผู้ชายเลย ซึ่งสอดคล้องกับ หมอตำแยของฝรั่งที่เราเรียกว่า “ nobilitas obstertricum” ซึ่งเป็นภาษาละติน หรือ “midwives” หมายถึง คนในระดับชั้นสูงที่ทำหน้าที่ทำคลอด เนื่องจากบุคคลที่จะทำคลอดในสมัยแรกเริ่มของโลกนั้นชาวตะวันตกมองว่าเป็นหน้าที่ของชนชั้นสูงในสังคม และ เป็นหน้าที่ของสตรีเท่านั้น โดยการเป็นผู้ทำคลอดนี้ถือว่าเป็น หน้าที่ที่ควรได้รับค่าตอบแทน และ การยอมรับต่อสาธารณะเป็นอย่างยิ่ง การเรียนรู้ในเรื่องการทำคลอด ตลอดจน การประดิษฐอุปกรณ์ต่างๆ และได้สอนตกกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้หน้าที่ของ midwives พัฒนาการข้ามไปสู่เรื่องศาสตร์ของการผ่าตัด ซึ่งในตอนนั้นศาสตร์นี้ ยังไม่เป็นที่ยอมรับและยกย่อง midwives มากนัก การพัฒนาการของการทำคลอดได้ผ่านมาจนถึง การศึกษาอย่างจริงจังในเรื่อง “ สูติศาสตร์ Obstetrics” ในช่วงเวลาต่อมา
[[หมวดหมู่:อาชีพ]]
 
Axel Hinrich Murken ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับคลินิก หรือ โรงเรียนที่ สอนเกี่ยวกับ สูติศาสตร์ พบว่า ในช่วงศตวรรษที่ 18 มีคลินิกที่เกี่ยวกับสูติกรรมเกิดขึ้นถึง 1800 แห่งโดยการดัดแปลงจากบ้านพักอาศัย เป็นสถานที่สอนสำหรับ หมอใหม่ และ midwives แต่ โชคร้ายที่การทำคลอดในช่วง เวลาดังกล่าวมีอัตตราการเสียชีวตของ แม่ หรือ เด็ก สูงมากจากโรค “puerperal fever” จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1847 หมอ Lgnaz Philipp Semmelweis ได้ค้นพบ และ อธิบายถึงสาเหตุในการติดเชื้อ และ การเสียชีวิตที่เกิดขึ้นจาก แบคทีเรีย นอกจากนั้นคุณหมอยัง แสดง วิธีการป้องกันการติดเชื้อเบื้องต้น โดยการล้างมือ ผู้ที่จะทำคลอดด้วยยาฆ่าเชื้อในสมัยนั้น ทำให้อัตตราการสุญเสียลดลงอย่างรวดเร็ว นับว่าเป็นก้าวกระดดที่สำคัญในวงการสูติสาสตร์ทีเดียว จนในศตวรรษที่ 20 ในช่วงยุคอุตสหกรรม อัตตราการเกิดของทารก มีเพิ่มขึ้นมาก ทำให้ความนิยมในการคลอดที่บ้านเริ่มลดลง เนื่องจากสถานพยาบาลสำหรับให้บริการทาง สูติกรรม เริ่ม มีมากขึ้น และ มีความปลอดภัยกว่า
 
สำหรับในประเทศไทย ผู้เขียนขออนุญาต เขียนบรรยายจากความทรงจำในวัยเด็กที่คุณยาย ( นาง ยุพา ลิมปกพันธ์ ) ซึ่งสำเร็จวิชาผดุงครรถ์ จากวชิระพยาบาล ซึ่งในสมัยที่ท่านจบการศึกษาเป็นช่วงเสร็จสิ้น สงครามโลกใหม่ๆ จึงเรียกว่า ผดุงครรถ์ รุ่นสงครามโลก ( ครั้งที่สอง ) คุณยาย เล่าให้ฟังว่าหลังสงครามโลก ในตามจังหวัดใหญ่ๆต่างๆจะมีโรงพยาบาล และ มี สูติแพทยบ้างแล้ว แต่ก็ยังไม่พอกับความต้องการ เพราะช่วงนั้นประเทศไทยเริ่มมีอัตตราการเกิดที่สูงมากขึ้น และถนนหนทางยังไม่สะดวกเช่นปัจจุบัน ทำให้พยาบาล รุ่นที่ท่านจบ ต้องกลับรีบไปต่างจังหวัด ส่วนท่านได้ลาออกจากราชการ และ ดัดแปลงบ้านของตนเองเป็น สถานพยาบาล สำหรับบริการด้านสูติกรรม ได้เงินบ้างไม่ได้เงินบ้าง แต่ก็ทำให้ท่านได้รับการยอมรับจากสังคม เสมือน แพทย์คนหนึ่งทีเดียว จากนั้นการให้บริการทางสูติกรรมก็ก้าวหน้าขึ้นมี แพทย์ และ พยาบาลเฉพาะทาง จบมามากมาย ตลอดจนมีกฎหมาย ที่เกี่ยวกับการประกอบโรคศิลป์ มาบังคับใช้ ทำให้อาชีพหมอตำแยได้ลดน้อยลงตามลำดับ
 
== อ้างอิง ==
* Schirmer C., Meuser, P., Hospital Architectur. Prgeone,2006, p 11.
 
[[arc:ܩܒܠܘܬܐ]]
[[หมวดหมู่:แพทยศาสตร์]]
[[ca:Infermeria obstètrico-ginecològica]]
[[da:Jordemoder]]
[[de:Hebamme]]
[[en:Midwifery]]
[[es:Enfermería obstétrico-ginecológica]]
[[eu:Emagin]]
[[fa:مامایی]]
[[fr:Sage-femme]]
[[hi:धातृविद्या]]
[[id:Bidan]]
[[it:Ostetrica]]
[[nl:Verloskunde]]
[[ja:助産師]]
[[no:Jordmor]]
[[nn:Jordmor]]
[[pl:Położna]]
[[qu:Wachachiq]]
[[ru:Повитуха]]
[[sr:Бабице]]
[[fi:Kätilö]]
[[sv:Barnmorska]]
[[tr:Ebelik]]
[[uk:Повитуха]]
[[zh:接生員]]
[[zh-min-nan:Sán-pô]]