ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประติมานวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ระวังสับสน|ประติมา}}<!--Icon--> {{กล่องข้อมูล ภาพนำ | ชื่อบทความ = ประติ...
 
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| คำบรรยายภาพ =ภาพ “''[[ราชทูต (โฮลไบน์)|ราชทูต]]''”<!--The Ambassadors (Holbein)--> โดย[[ฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก)|ฮันส์ โฮลไบน์]]เป็นงานจิตรกรรมอันซับซ้อนที่เนื้อความและสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ปรากฏหรือลักษณะทางประติมานวิทยาในเนื้อหาของภาพก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
}}
'''ประติมานวิทยา'''<ref>มะลิฉัตร เอื้ออานันท์. “พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ” สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2545</ref> ({{lang-en|Iconography}}) เป็นสาขาหนึ่งของ[[ประวัติศาสตร์ศิลป์]]ที่เป็นการศึกษาประวัติ, คำบรรยาย และ การตีความหมายของเนื้อหาของภาพ คำว่า “Iconography” แปลตรงตัวว่า “การเขียนรูปลักษณ์” (image writing) ที่มีรากมาจากภาษากรีกโบราณ “εἰκών” ที่แปลว่า “รูปลักษณ์” และคำว่า “γράφειν” ที่แปลว่า “เขียน” ความหมายรองลงมาคืองาน[[Icon|ประติมา]] (Icon) ใน[[ศิลปะไบแซนไทน์|ไบแซนไทน์]]และ[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์|ออร์โธด็อกซ์]]ของประเพณีนิยมคริสเตียน ในด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ประติมานวิทยาก็ยังอาจจะหมายถึงกรรมวิธีการแสดงหัวเรื่องในรูปแบบของการใช้รูปสัญลักษณ์ต่างๆ ในเนื้อหาของภาพที่ออกมาให้ผู้ชมได้เห็น นอกจากนั้นประติมานวิทยาก็ยังใช้ในด้านสาขาวิชาอื่นนอกไปจากประวัติศาสตร์ศิลป์เช่นในวิชา[[semiotics|สัญญาณศาสตร์]] และ [[media studies]], และในการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงลักษณะรูปลักษณ์ที่ใช้กันเป็นสามัญของหัวเรื่องหรือความหมายในทำนองเดียวกัน
'''ประติมานวิทยา'''<ref>มะลิฉัตร เอื้ออานันท์. “พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ” สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2545</ref>
<ref> ({{lang-en|Iconography}}) เป็นสาขาหนึ่งของ[[ประวัติศาสตร์ศิลป์]]ที่เป็นการศึกษาประวัติ, คำบรรยาย และ การตีความหมายของเนื้อหาของภาพ คำว่า “Iconography” แปลตรงตัวว่า “การเขียนรูปลักษณ์” (image writing) ที่มีรากมาจากภาษากรีกโบราณ “εἰκών” ที่แปลว่า “รูปลักษณ์” และคำว่า “γράφειν” ที่แปลว่า “เขียน” ความหมายรองลงมาคืองาน[[Icon|ประติมา]] (Icon) ใน[[ศิลปะไบแซนไทน์|ไบแซนไทน์]]และ[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์|ออร์โธด็อกซ์]]ของประเพณีนิยมคริสเตียน ในด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ประติมานวิทยาก็ยังอาจจะหมายถึงกรรมวิธีการแสดงหัวเรื่องในรูปแบบของการใช้รูปสัญลักษณ์ต่างๆ ในเนื้อหาของภาพที่ออกมาให้ผู้ชมได้เห็น นอกจากนั้นประติมานวิทยาก็ยังใช้ในด้านสาขาวิชาอื่นนอกไปจากประวัติศาสตร์ศิลป์เช่นในวิชา[[semiotics|สัญญาณศาสตร์]] และ [[media studies]], และในการใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงลักษณะรูปลักษณ์ที่ใช้กันเป็นสามัญของหัวเรื่องหรือความหมายในทำนองเดียวกัน
 
== อ้างอิง ==