ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กายวิภาคศาสตร์มนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dinamik-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: an:Anatomía humana
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาด
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Vesalius_Fabrica_p184.jpg|thumb|right|250px|รูปแสดงระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในลักษณะธรรมชาติ จากหนังสือ ''Fabrica'' โดยแอนเดรียส เวซาเลียส]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''กายวิภาคศาสตร์มนุษย์''' ({{lang-en|Human anatomy}}) ''' เป็นสาขาหนึ่งของ[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]] ที่เน้นทางด้านการศึกษาโครงสร้างต่างๆที่ประกอบกันเป็นร่างกายของมนุษย์ และเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็นสี่สาขาหลัก ได้แก่ [[มหกายวิภาคศาสตร์]] (Gross anatomy) [[จุลกายวิภาคศาสตร์]] (Histology) [[ประสาทกายวิภาคศาสตร์]] (Neuroanatomy) และ[[กายวิภาคศาสตร์การเจริญเติบโต]] (Developmental anatomy) ในปัจจุบันการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะเน้นไปในด้านการประยุกต์ใช้ และการนำเอาเทคโนโลยีทางด้าน[[อณูชีววิทยา]]มาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับ[[เซลล์]]และ[[เนื้อเยื่อ]]
[[ไฟล์:Vesalius_Fabrica_p184.jpg|thumb|right|250px|รูปแสดงระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในลักษณะธรรมชาติ จากหนังสือ ''Fabrica'' โดยแอนเดรียส เวซาเลียส]]
 
'''กายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (Human anatomy) ''' เป็นสาขาหนึ่งของ[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]] ที่เน้นทางด้านการศึกษาโครงสร้างต่างๆที่ประกอบกันเป็นร่างกายของมนุษย์ และเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็นสี่สาขาหลัก ได้แก่ [[มหกายวิภาคศาสตร์]] (Gross anatomy) [[จุลกายวิภาคศาสตร์]] (Histology) [[ประสาทกายวิภาคศาสตร์]] (Neuroanatomy) และ[[กายวิภาคศาสตร์การเจริญเติบโต]] (Developmental anatomy) ในปัจจุบันการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะเน้นไปในด้านการประยุกต์ใช้ และการนำเอาเทคโนโลยีทางด้าน[[อณูชีววิทยา]]มาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับ[[เซลล์]]และ[[เนื้อเยื่อ]]
 
== ประวัติของการศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์ ==
เส้น 14 ⟶ 12:
 
=== การศึกษาในยุคกลางและยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ===
[[ไฟล์:Vesalius Fabrica portrait.jpg|left|200px|thumb|แอนเดรียส เวซาเลียส ]]
การศึกษากายวิภาคของมนุษย์หยุดชะงักลงไปชั่วคราวในช่วงยุคกลาง ซึ่งมีข้อกำหนดทางศาสนาที่เคร่งครัด จนกระทั่งแพทย์หลวงในอาณาจักรโรมันโบราณ ชื่อ [[แอนเดรียส เวซาเลียส]] (Andreas Vesalius) ได้ทำการศึกษากายวิภาคของมนุษย์อย่างละเอียดโดยใช้ศพของนักโทษประหาร และตีพิมพ์เป็นหนังสือ ''De humani corporis fabrica'' ซึ่งมีภาพประกอบของร่างกายของมนุษย์ที่ละเอียดและสมจริงอย่างมาก การศึกษากายวิภาคของมนุษย์ได้มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายไปพร้อมกับ[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ]] ซึ่งศิลปินเอกหลายคนได้ศึกษาโครงสร้างต่างๆของมนุษย์เพื่อประกอบการสร้างงานศิลปะ ทำให้วิชากายวิภาคศาสตร์รุดหน้าไปมาก
 
=== การศึกษากายวิภาคศาสตร์ในยุคปัจจุบัน ===
[[ไฟล์:Rembrandt Harmensz. van Rijn 007.jpg|thumb|right|300px|ภาพ ''Anatomy Lesson of Dr. Nicolaes Tulp[[บทเรียนกายวิภาคของนายแพทย์ทุลพ์]]'' โดย [[แรมบรังด์]] แสดงภาพของการสาธิตการชำแหละศพในสมัยศตวรรษที่ 17]]
ในช่วงศตวรรษที่ 19 ด้วยวิทยาการใหม่ทางด้าน[[เคมี]] ทำให้สามารถนำสารเคมีมาใช้ในการรักษาสภาพและศึกษาโครงสร้างส่วนต่างๆของมนุษย์ ทั้งในระดับมหกายวิภาคศาสตร์ และระดับจุลกายวิภาคศาสตร์ได้มากขึ้น และทำให้ความรู้ทางด้านนี้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มีการศึกษาอวัยวะต่างๆของมนุษย์อย่างเป็นระบบระเบียบ จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ได้มีการนำเอาเครื่องมือทาง[[ฟิสิกส์]]มาใช้ในการศึกษาโครงสร้างภายในของมนุษย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น การใช้[[รังสีเอกซ์]] [[การสร้างภาพจากเครื่องสแกนโดยอาศัย[[สนามแม่เหล็กด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก]] (Magnetic resonance imaging) และการใช้เครื่องสแกน[[การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์]] (Computer tomography) ซึ่งนับว่าเป็นวิวัฒนาการล่าสุดในการวิเคราะห์โครงสร้างของมนุษย์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการวินิจฉัยโรค
 
== แนวทางของการศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์ ==
[[ไฟล์:Head CT scan.jpg|thumb|250px|ภาพสแกนโดยการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยเครื่องสแกนคอมพิวเตอร์ แสดงภาคตัดขวางของศีรษะของมนุษย์ ในระนาบที่ผ่าน[[เบ้าตา]] [[สมองกลีบขมับ]] และ[[ซีรีเบลลัม]] ]]
ปัจจุบัน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะแบ่งออกเป็นสองแบบ คือการศึกษาเฉพาะในแต่ละส่วน (Regional approach) และการศึกษาในแต่ละระบบอวัยวะ (Systemic approach)