ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรสระประกอบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: en:Abugida
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: id:Abugida; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 11:
 
อักษรสระประกอบแบ่งได้เป็นสามกลุ่มใหญ่ ๆ
* ตระกูลอักษรพราหมี เป็นกลุ่มที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุด สระจะแสดงโดยเติมเครื่องหมายต่าง ๆ ลงไปที่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง หรือรอบ ๆ พยัญชนะ และมีเครื่องหมายที่แสดงว่าพยัญชนะไหนเป็นตัวสะกดหรือไม่มีเสียงสระกำกับ (ดังเช่น[[พินทุ]]ในอักษรไทยที่ใช้เขียน[[ภาษาบาลี]])
* ตระกูลอักษรเอธิโอเปีย สระจะแสดงโดยการดัดแปลงลักษณะของพยัญชนะเพื่อแสดงเสียงสระต่าง ๆและรวมถึงพยัญชนะที่ไม่มีเสียงสระกำกับด้วย
* ตระกูลอักษรครี สระจะแสดงโดยการหมุนพยัญชนะให้ตะแคงเป็นมุมที่แตกต่างกันเพื่อแสดงเสียงสระที่แตกต่างกัน (เช่น ᒪ มา ᒥ มี) พยัญชนะที่ไม่มีสระกำกับจะแสดงด้วยการเติมเครื่องหมายหรือมีรูปอักษรพอเศษสำหรับพยัญชนะนั้น ๆ
 
[[อักษรทานา]]ซึ่งใช้เขียน[[ภาษาดิเวฮิ]]ของ[[มัลดีฟส์]]ไม่มีรูปสระลอย มีเพียงรูปสระจมกับพยัญชนะพิเศษอย่าง อ ในอักษรไทยเท่านั้น
บรรทัด 37:
[[gl:Alfasilabario]]
[[gv:Abugida]]
[[id:AbudigaAbugida]]
[[it:Alfasillabario]]
[[ja:アブギダ]]