ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงแหวนไฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
 
[[ไฟล์:Mt.Mayon tam3rd.jpg|thumb|200px|left|[[ภูเขาไฟมายอน]] ประเทศฟิลิปปินส์]]
[[ไฟล์:MSH80 st helens eruption plume 07-22-80.jpg|thumb|200px|right|การปะทุของ[[ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนเฮเลนส์]] เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1980]]
วงแหวนแห่งไฟเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่และการชนกันของแผ่นเปลือกโลก<ref>[http://pubs.usgs.gov/publications/text/slabs.html <nowiki>Moving slabs [This Dynamic Earth, USGS]</nowiki>].</ref> แบ่งเป็นส่วนวงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจาก[[แผ่นนาซคา]]และ[[แผ่นโคคอส]] ที่มุดตัวลงใต้แผ่น[[อเมริกาใต้]] ส่วนของ[[แผ่นแปซิฟิก]]ที่ติดกับแผ่นฮวนดีฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่น[[อเมริกาเหนือ]] ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณเกาะเอลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศญี่ปุ่น และส่วนใต้ของวงแหวนแห่งไฟเป็นส่วนที่มีความซับซ้อนของแผ่นเปลือกโลก มีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กมากมายที่ติดกับแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเริ่มตั้งแต่[[หมู่เกาะมาเรียน่า]] ประเทศฟิลิปปินส์ [[เกาะบัวเกนวิลเล]] ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนแห่งไฟยังมีแนวต่อไปเป็น แนวอัลไพน์ ซึ่งเริ่มต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเลื่อนที่มีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนแห่งไฟนี้ ได้แก่ [[รอยเลื่อนซานอันเดรียส]] ใน[[รัฐแคลิฟอร์เนีย]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กอยู่เป็นประจำ [[รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์]] ทางชายฝั่งตะวันตกของ[[หมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์]] [[รัฐบริติชโคลัมเบีย]] ประเทศแคนาดา ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์เมื่อ ค.ศ. 1929 แผ่นดินไหวขนาด 8.1 ริกเตอร์ในปี ค.ศ. 1949 (แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศแคนาดา) และแผ่นดินไหวขนาด 7.4 ริกเตอร์ในปี 1970<ref>[http://www.litho.ucalgary.ca/publications/newsletter10.1/bird.html Earthquakes in the Queen Charlotte Islands Region 1984-1996] Retrieved on 2007-10-03</ref>