ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูกซี่โครง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ug:كېمىنىڭ يان تىرەكلىرى; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
กล่องข้อมูล
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Gray112.png|thumb| Name = กระดูกซี่โครงของมนุษย์]]<br /> (Ribs)
| Latin =
 
| GraySubject =
'''กระดูกซี่โครง (Ribs)''' เป็นส่วนหนึ่งของ[[โครงกระดูกมนุษย์]]ที่อยู่ในบริเวณส่วนอก ซึ่งจะเชื่อมต่อระหว่าง[[กระดูกสันหลัง]]ส่วนอก (Thoracic vertebral column) ทางด้านหลัง กับ[[กระดูกอก]] (Sternum) ทางด้านหน้า และประกอบขึ้นเป็นโครงร่างของผนัง[[ช่องอก]]และช่วยในการป้องกัน[[อวัยวะภายใน]]ของช่องอกที่สำคัญ เช่น[[ปอด]]และ[[หัวใจ]] โดยทั่วไปแล้วในผู้ใหญ่จะมีกระดูกซี่โครงทั้งหมด 12 คู่ หรือ 24 ซี่ ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย อย่างไรก็ตามในบางคนอาจมีจำนวนของกระดูกซี่โครงที่มากกว่าหรือน้อยกว่าปกติได้เล็กน้อย
| GrayPage =
| Image = Gray112.png
| Caption = กระดูกซี่โครงของมนุษย์
| Image2 =
| Caption2 =
| Precursor =
| System =
| Artery =
| Vein =
| Nerve =
| Lymph =
| MeshName =
| MeshNumber =
| Dorlands = nine/100009708
| DorlandsID = rib cage
}}
'''กระดูกซี่โครง''' ({{lang-en|Ribs}})''' เป็นส่วนหนึ่งของ[[โครงกระดูกมนุษย์]]ที่อยู่ในบริเวณส่วนอก ซึ่งจะเชื่อมต่อระหว่าง[[กระดูกสันหลัง]]ส่วนอก (Thoracic vertebral column) ทางด้านหลัง กับ[[กระดูกอก]] (Sternum) ทางด้านหน้า และประกอบขึ้นเป็นโครงร่างของผนัง[[ช่องอก]]และช่วยในการป้องกัน[[อวัยวะภายใน]]ของช่องอกที่สำคัญ เช่น[[ปอด]]และ[[หัวใจ]] โดยทั่วไปแล้วในผู้ใหญ่จะมีกระดูกซี่โครงทั้งหมด 12 คู่ หรือ 24 ซี่ ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย อย่างไรก็ตามในบางคนอาจมีจำนวนของกระดูกซี่โครงที่มากกว่าหรือน้อยกว่าปกติได้เล็กน้อย
 
== กายวิภาคและชนิดของกระดูกซี่โครง ==
 
กระดูกซี่โครงทั้ง 12 คู่ จะมีรูปร่างคล้ายกัน คือเป็น[[กระดูกแบบแบน]] (flat bone) มีความโค้งออกไปทางด้านข้าง และแบ่งออกได้เป็นสามส่วน คือส่วนหัวกระดูก (head) ส่วนคอกระดูก (neck) และส่วนท่อนกระดูก (shaft) อย่างไรก็ตาม กระดูกซี่โครงบางชิ้นจะมีลักษณะพิเศษ ซึ่งทำให้แบ่งชนิดของกระดูกซี่โครงได้เป็นสองลักษณะ คือชนิดของกระดูกซี่โครงตามรูปร่าง และตามจุดเกาะทางด้านหน้ากับกระดูกอก
 
=== ชนิดของกระดูกซี่โครง แบ่งตามรูปร่าง ===
 
[[ไฟล์:Gray123.png|thumb|250px|กระดูกซี่โครงแบบธรรมดา แสดงพื้นผิว จุดเกาะกับกระดูกสันหลัง และร่องซี่โครง]]
เมื่อพิจารณารูปร่างของกระดูกซี่โครงของมนุษย์ จะแบ่งออกได้เป็นสองแบบ คือแบบธรรมดา และแบบพิเศษ
* '''กระดูกซี่โครงธรรมดา (Typical ribs) ''' ได้แก่กระดูกซี่โครงคู่ที่ 3 ถึง 9 ซึ่งมีโครงสร้างที่คล้ายกันมาก คือส่วนหัวกระดูกของแต่ละซี่จะมีจุดเชื่อมต่อกับกระดูกสันหลังส่วนอกสองจุด และพื้นผิวด้านในของส่วนท่อนกระดูกจะมีแนวยึดเกาะของ[[กล้ามเนื้อยึดซี่โครง]] (intercostal muscles) และยังมี[[ร่องซี่โครง]] (costal groove) ซึ่งมี[[เส้นประสาท]]และ[[หลอดเลือด]]ที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อยึดซี่โครงวางอยู่
* '''กระดูกซี่โครงชนิดพิเศษ''' (Atypical ribs) เป็นกระดูกซี่โครงที่มีลักษณะต่างออกไปจากกระดูกซี่โครงธรรมดา ซึ่งได้แก่กระดูกซี่โครงคู่ที่ 1,2,10,11 และ 12
** กระดูกซี่โครงคู่ที่ 1 จะมีส่วนท่อนกระดูกที่วางตัวในแนวนอน (กระดูกซี่โครงคู่อื่นจะวางตัวในแนวตั้ง) และมีความหนาค่อนข้างมาก และมีแนวร่องซี่โครงสองร่อง สำหรับ[[หลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำใต้ไหปลาร้า]] (subclavian vessels) และมีปุ่มนูนเพื่อเป็นจุดเกาะของ[[กล้ามเนื้อสคาลีนนัส]] (scalenus muscle) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อในบริเวณคอ
เส้น 19 ⟶ 34:
 
=== ชนิดของกระดูกซี่โครง แบ่งตามจุดเกาะกับกระดูกอก ===
 
หากจำแนกกระดูกซี่โครงตามจุดเกาะกับ[[กระดูกอก]]ทางด้านหน้าที่แตกต่างกัน จะสามารถจำแนกออกได้เป็นสามแบบ ได้แก่
* '''กระดูกซี่โครงแท้''' (True ribs) ซึ่งได้แก่กระดูกซี่โครงคู่ที่ 1 ถึง 7 ซึ่งปลายทางด้านหน้าของกระดูกซี่โครงชนิดนี้จะติดต่อกับกระดูกอกโดยตรง
เส้น 27 ⟶ 41:
 
== การบาดเจ็บที่กระดูกซี่โครง ==
 
กระดูกซี่โครงเป็นอวัยวะที่ได้รับการกระทบกระเทือนได้ง่าย ซึ่งอาจทำให้เกิดการหักของกระดูกซี่โครง และทำให้เกิดความเจ็บปวดอย่างมากและมีความผิดปกติของ[[การหายใจ]] เนื่องจากกระดูกซี่โครงเป็นที่เกาะของทั้ง[[กล้ามเนื้อยึดซี่โครง]]และ[[กะบังลม]] ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักในการช่วยการหายใจ นอกจากนี้บางส่วนของกระดูกที่หักอาจทำอันตรายต่ออวัยวะภายในช่องอกอีกด้วย และอาจทำให้เกิด[[ภาวะเลือดออกในช่องอก]] (hemothorax)
 
== รูปประกอบเพิ่มเติม ==
 
<gallery>
ภาพ:Gray124.png|กระดูกซี่โครง ซี่ที่ 1
ภาพไฟล์:Gray115.png|มุมมองทางด้านหน้าของกระดูกอกและกระดูกอ่อนซี่โครง
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
* ''Clinically Oriented Anatomy'', 4th ed. Keith L. Moore and Arthur F. Dalley.
 
{{แม่แบบ:ส่วนประกอบกายวิภาคของมนุษย์}}
{{กระดูกและข้อต่อของลำตัว}}