ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ความโดดเด่น (องค์การและบริษัท)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 18:
 
== เกณฑ์การประเมินเบื้องต้น ==
บริษัท หน่วยงาน องค์กร โรงเรียน ทีม กลุ่ม ศาสนา ลัทธิ สินค้าหรือการบริการที่ จะจัดว่า'''มีความโดดเด่น''' จะได้รับการพูดก็ต่อเมื่อเป็นหัวข้อสำคัญที่กล่าวถึงในรายงานข่าวที่สำคัญ ในแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ จากแหล่งข่าวข้อมูลดังกล่าวนี้ต้องเป็นแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ มีหลายแห่งแหล่งที่เป็นอิสระต่อกัน แหล่งข้อมูลอิสระเพียงแห่งเดียวเกือบจะไม่มีความอาจนับว่าสำคัญเพียงพอที่จะแสดงความโดดเด่นขององค์กรนั้นได้
 
ความลึกของการเสนอข่าวเนื้อหาจากแหล่งข่าวข้อมูลก็เป็นสิ่งที่ต้องพิจารณา ถ้าความลึกของการนำเสนอข่าวข้อมูลเหล่านั้นไม่ได้มากใช่สาระสำคัญ ก็ควรจะจำเป็นต้องมีการนำเสนอแหล่งข่าวกล่าวถึงจากหลายแหล่งข้อมูลหลายๆ แห่งเพื่อจะแสดงว่าประเด็นเหล่านั้นสำคัญจริงๆ ที่ การพูดถึงเพียงเล็กน้อย จิปาถะไม่สำคัญเรื่องทั่วไปหรือเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิไม่มีความนับว่าเพียงพอเรื่องจะแสดงความโดดเด่น การนำคำพูดหรือเรื่องเล่าจากพนักงานบุคลากรขององค์กรนั้นๆ ไม่ถือว่าสามารถจัดเป็นสาระสำคัญจริงของแหล่งข่าวจนกว่าได้เว้นเสียแต่ว่าองค์กรเองจะทำให้เกิดข้อมูลแห่งนั้นเป็นหัวเรื่องสำคัญในข้อมูลนั้นๆ เอง เช่นเดียวกับการประกาศแถลงข่าวเป็นประจำอย่างเช่น เช่นการประกาศจ้างงานหรือ การออกไปแจ้งข่าวลาออกของพนักงาน เป็นต้นการควบรวมตามวงรอบ การขายบางส่วนของธุรกิจ นอกจากนั้นการออกสินค้าเพิ่มหรือลดชนิดผลิตภัณฑ์ หรือการเปิดตัว -ปิดตัวกิจการหรือบริการ จนกว่างานเป็นต้น นอกเสียจากว่าเหตุการณ์เหล่านั้นจะเป็นประเด็นที่มีการพูดถึงความน่าสนใจอย่างสำคัญโดดเด่นและต่อเนื่อง
 
ประการหนึ่งควรต้องพิจารณากลุ่มเป้าหมายของแหล่งข่าวก็ต้องพิจารณาเช่นกันข้อมูลนั้นด้วย ไม่ว่าจะเหตุการณ์ซึ่งเป็นที่สนใจในระดับนานาชาติ รดับระดับชาติ หรือเฉพาะอย่างน้อยในระดับท้องถิ่น สื่อมวลชนเป็นตัวประเมินที่ดีของความโดดเด่นที่ดี ในทางตรงกันข้าม สื่อท้องถิ่นลำพังหรือสื่อที่จำกัดเฉพาะกลุ่มและมีฐานผู้รับข่าวสารน้อยหรือจำกัดก็ไม่อาจเป็นตัววัดความโดดเด่นได้
 
เมื่อได้แสดงความโดดเด่นของบทความแล้ว จึงสามารถใช้แหล่งข้อมูลปฐมภูมิในการพิสูจน์ยืนยันเนื้อหาบางส่วนของบทความได้
แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ในเกณฑ์นี้หมายถึงงานเผยแพร่ที่มีความเชื่อถือทุกรูปแบบ ตัวอย่างเช่น บทความในหนังสือพิมพ์ หนังสือ สารคดีทางโทรทัศน์ '''ยกเว้น''' ข้อมูลตามข้างล่างดังต่อไปนี้
 
"แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ" ในเกณฑ์นี้หมายถึงงานเผยแพร่ที่มีความเชื่อถือทุกรูปแบบ ตัวอย่างเช่น บทความในหนังสือพิมพ์ หนังสือ สารคดีทางโทรทัศน์ '''ยกเว้น''' ข้อมูลตามข้างล่างดังต่อไปนี้
* การแถลงข่าว อัตชีวประวัติ ที่เป็นการโฆษณาให้บริษัท องค์กรหรือกลุ่ม หรืองานอื่นที่บริษัท องค์กรหรือกลุ่มพูดถึงด้วยตัวเอง ตีพิมพ์โดยบริษัท องค์กรหรือกลุ่ม หรือเผยแพร่ซ้ำโดยบุคคลอื่น
 
* การแถลงข่าว อัตชีวประวัติ ที่เป็นการโฆษณาให้บริษัท องค์กรหรือกลุ่ม หรืองานอื่นที่บริษัท องค์กรหรือกลุ่มพูดถึงด้วยตัวเอง ไม่ว่าจะตีพิมพ์โดยบริษัท องค์กรหรือกลุ่มเอง หรือเผยแพร่ซ้ำโดยบุคคลอื่นก็ตาม เนื้อความที่เกิดจากการตีพิมพ์ด้วยตัวเองต้องถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิซึ่งอยู่ภายใต้การพิจารณาในนโยบายอื่น
* งานที่มีการรายงานข่าวเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น บทความในหนังสือพิมพ์ที่มีรายงานเพียงเวลาการประชุมหรือขยายเวลาในการขายสินค้าหรือการบอกหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่ หรือรายนาม
 
* งานที่มีการรายงานข่าวเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น บทความในหนังสือพิมพ์ที่มีรายงานเพียงเวลาการประชุมหรือขยายเวลาในการขายสินค้า หรือการบอกหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่ หรือรายนาม
 
== หมายเหตุ การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ==