ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายนามมรณสักขีประจำวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 2348607 สร้างโดย Mattis (พูดคุย)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Loyall Martyrology Winstanley 1665.JPG|thumb|250px |“สารบรรณรายชื่อผู้พลีชีพโลยัลล์” โดยกวีชาวอังกฤษ[[William Winstanley|วิลเลียม วินสแตนลีย์]], ค.ศ. 1665, เขียนขึ้นหลังจากการฟื้นฟู[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]] ที่รวมรายชื่อของ[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ|สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1]] และฝ่ายนิยมกษัตริย์ผู้เสียชีวิตโดยการตัดสินของฝ่ายรัฐสภา]]
'''สารบรรณรายชื่อนักบุญผู้พลีชีพ''' หรือ '''สารบรรณรายชื่อผู้พลีชีพ''' ({{lang-en|Martyrology}}, [http://www.forvo.com/word/Martyrology#en ออกเสียง]) คือสารบรรณหรือรายชื่อของ[[มรณสักขีของคริสเตียน|ผู้พลีชีพ]]เพื่อ[[คริสต์ศาสนา]] หรือเฉพาะเจาะจงคือ[[นักบุญ]]ที่จัดเรียงตามลำดับวันครบรอบหรือวันสมโภชน์ บางครั้งก็จะเป็น “สารบรรณรายชื่อนักบุญผู้พลีชีพ” ที่รวบรวมขึ้นเฉพาะท้องถิ่นหรือเฉพาะวัดที่อาจจะเสริมด้วยชื่อที่มาจากวัดข้างเคียง หรือบางครั้งก็นำ “สารบรรณรายชื่อนักบุญผู้พลีชีพ” หลายเล่มมารวมเข้าด้วยกันเป็นเล่มเดียวกันที่อาจจะรวมหรือไม่รวมข้อมูลจากแหล่งวรรณกรรมอื่นก็ได้
 
คำนี้ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับโดย[[โรมันคาทอลิก]] แต่สำหรับสถาบันออร์โธด็อกซ์แล้วสิ่งที่ใกล้เคียงกับ “สารบรรณรายชื่อนักบุญผู้พลีชีพ” มากที่สุดคือ “''[[Synaxarion|ประวัตินักบุญซิแน็กซาเรียน]]''” (Synaxarion) และฉบับที่ยาวกว่า “''[[Menologion|ประวัตินักบุญเมโรโลเจียน]]''” (Menologion)<ref>The Greek synaxaries are a counterpart. The literature of the synaxaries comprises also the books of that category belonging to the various Oriental rites (see ''Analecta Bollandiana'', XIV, 396 sqq.; Hippolyte Delehaye, ''Synaxarium ecclesiæ Constantinopolitanæ Propylæum ad Acta Sanctorum novembris'', 1902).</ref> เนื้อหาก็จะมีสองแบบ แบบแรกเป็นแต่เพียงรายชื่อ และ แบบที่สองจะรวมประวัติชีวิตและเรื่องราวรายละเอียดของนักบุญแต่ละองค์ด้วย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* Charles de Smedt, ''Introductio generalis ad historiam ecclesiasticam'' (Gandavi, 1876), pp. 127-156
* H. Matagne and V. de Buck in De Backer, ''Bibliothéque des écrivains de la Compagnie de Jesus'', 2nd ad., vol. iii. pp. 369-387
* Giovanni Battista de Rossi, Louis Duchesne ''Les Sources du martyrologe hiéronymien'' (Rome, 1885)
* Hans Achelis, ''Die Martyrologien, ihre Geschichte und ihr Wert'' (Berlin, 1900)
* Hippolyte Delehaye, ''Le Temoignage des martyrologes'', in ''[[Analecta Bollandiana]]'', xxvi. 7899 (1907)
* Henri Quentin, ''Les martyrologies historiques du moyen âge'' (Paris, 1908)
* M. Guidere, ''Les Martyrs d'Al-Qaida'', Paris: Editions du Temps, 2006, 240p.
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 13 ⟶ 20:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.breviary.net/martyrology/mart.htm The Roman Martyrology, 1956 revision of the 1914 typical edition] (with English translation)
{{Commonscat-inline|Martyrology|สารบรรณนักบุญผู้พลีชีพ}}
*[http://www.ecclesiacatholica.com/principale.htm Rubrics and Historical Introduction of the Roman Martyrology (1956 revision)] (in Latin only) - click on ''Martyrologium Romanum''
*[http://www.christdesert.org/public_texts/martyrology/ Life of a saint for each day of the year] (not a martyrology in the proper sense)
*[http://www.domcentral.org/life/martyr00.htm The Martyrology of the Sacred Order of Friars Preachers] (in English, 1954 revision)
 
{{เรียงลำดับ|สารบรรณรายชื่อนักบุญผู้พลีชีพ}}
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมคริสต์ศาสนา]]
[[หมวดหมู่:นักบุญ]]