ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลามสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ด.ช.ปรัชญา (คุย | ส่วนร่วม)
การตรัสถึงกาลามสูตรของพระพุทธองค์นั้นนอกจากจะทรงกล่าวถึงฐานคิดสิบประการที่บุคคลทั่ว
บรรทัด 17:
:ธรรมเหล่านี้ไม่มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้สรรเสริญ
:ธรรมเหล่านี้ใคร[[สมาทาน]]ให้บริบูรณ์แล้ว เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข
เมื่อนั้น ท่านทั้งหลายควรเข้าถึงธรรมเหล่านั้นอยู่ โดยพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสพระสูตรนี้เป็นสองตอน คือ ตอนที่ 1 ทรงชี้ให้เห็นว่าโดยทั่วไปเมื่อบุคคลจะอ้างว่าสิ่งใดเป็นความรู้ (หรือมิใช่ความรู้)จะอ้างถึงฐานคิด 10 ประการ (ในข้างต้น)และตอนที่ 2 พระพุทธองค์ทรงชี้ให้เห็นว่าเมื่อมีการอ้างถึงฐานคิด 10 ประการดังกล่าวแล้วก็อย่าเพิ่งปลงใจเชื่อแต่ให้รู้จักสอบสวนทวนความให้แน่ใจเสียก่อนดังความว่า "เมื่อใดที่ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่าธรรมเหล่านี้ที่เป็นอกุศล มีโทษ วิญญูชนติเตียน ยึดถือปฏิบัติแล้วย่อมก่อให้เกิดโทษทุกข์ เมื่อนั้นท่านทั้งหลายก็สมควรที่จะละเว้นธรรมเหล่านี้เสีย...เมื่อใดที่ท่านทั้งหลายรู้ด้วยตนเองว่าธรรมเหล่านี้เป็นกุศล ปราศจากโทษ วิญญูชนสรรเสริญ ยึดถือปฏิบัติแล้วย่อมอำนวยประโยชน์สุขเมื่อนั้นท่านทั้งหลายจงถือปฏิบัติธรรมเหล่านั้นเถิด”
:เมื่อนั้น ท่านทั้งหลายควรเข้าถึงธรรมเหล่านั้นอยู่
 
ปัจจุบันแนวคิดและหลักสูตรที่สอนให้คนมีเหตุผลไม่หลงเชื่องมงาย ในทำนองเดียวกับคำสอนของพระพุทธองค์เมื่อ 2500 ปีก่อนได้รับการบรรจุเป็นวิชาบังคับว่าด้วยการสร้างทักษะการคิดหรือที่เรียกว่า "[[การคิดเชิงวิจารณ์]]" (Critical thinking) ไว้ใน[[กระบวนการเรียนรู้]]ในมหาวิทยาลัยของประเทศพัฒนาแล้ว [http://www.cie.org.uk/qualifications/academic/uppersec/alevel/subject/aleveldetails?assdef_id=765_804]