ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คุยเรื่องวิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Clumsy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
:ข้อความต่อไปนี้ย้ายมาจาก [[พูดคุย:สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประเทศไทย)]]
 
# สำหรับบทความนี้
# : ผมไม่แน่ใจว่ามันจำเป็นไหมที่ต้อง (ประเทศไทย) ต่อท้าย บทความอย่างกระทรวง หรือ กรรมการการเลือกตั้ง ผมเห็นด้วยว่าควรมีประเทศไทยต่อท้าย เพราะเป็นชื่อสามัญ ประเทศไหนๆ จะมีหน่วยงานชื่อเช่นนั้นก็ได้
# : แต่สำหรับบทความนี้รู้สึกว่าไม่ใช่ครับ เลยต้องขอความเห็น/ตัวอย่างด้วย การที่ใส่วงเล็บประเทศไทย แล้วลบหน้าเปลี่ยนทางออกอาจจะมีผลต่อการเข้าชมพอสมควรนะครับ
# : --[[ผู้ใช้:Taweetham|taweethaも]] 06:07, 7 มกราคม 2553 (ICT)
# "คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน" มีในหลาย ๆ ประเทศ เช่น ในหลาย ๆ รัฐของสหรัฐอเมริกา อินเดีย ไนจีเรีย ญี่ปุ่น โดยแต่ละที่ใช้ชื่อภาษาอังกฤษต่าง ๆ กันในคำ แต่แปลเป็นอย่างเดียวกัน เช่น
#* Basic Education Commission (BEC)
บรรทัด 14:
#* State Universal Basic Educational Board (SUBEC)
#* Universal Basic Educational Commission (UBEC)
#: ::<small>—— [[ผู้ใช้:Clumsy|<span style="color:#91d7d5">'''Clumsy'''</span>]] <span style="color:#fed8c5">{{•}}</span> [[คุยกับผู้ใช้:Clumsy|<span style="color:#93c1d2">'''พูดคุย'''</span>]] | [[พ.ศ. 2553|<span style="color:#a29a97">๒๕๕๓.</span>]][[6 มกราคม|<span style="color:#a29a97">๐๑.๐๖</span>]]<span style="color:#a29a97">,</span> <span style="color:#c1bebc">๐๖:๔๔ นาฬิกา</span> <span style="color:#dddbda"> (ICT) </span> </small>
# ขอบคุณครับ
#::: ขอบคุณครับ ชัดเจนเลยครับว่าถ้าเอามาแปลกเป็นไทยแล้วจะต้องใช้ชื่อเดียวกันหรือคล้ายกันแน่นอน แต่ปกติแล้วชื่อเหล่านี้มักไม่ถูกแปลและถูกเรียกเป็นไทยหรือเปล่าครับ
::#: อีกทางเลือกหนึ่งที่เป็นไปได้คือ ชื่อนี้ให้เป็นชื่อเฉพาะในภาษาไทย ไม่มีวงเล็บประเทศไทย เพราะเป็นความหมายหลัก ส่วนประเทศอื่นๆ มีวงเล็บประเทศต่อท้าย และทำหน้าแก้ความกำกวมต่างหาก
::#: ผมไม่ซีเรียสครับ เพียงแค่สงสัยว่าเราควรวางมาตรฐานอย่างไรหรือไม่ครับ ถ้าได้มาตรฐานที่ยอมรับกันได้แล้ว ก็จะลุยแก้ชื่อบทความที่ไม่ถูกต้องให้หมดในคราวเดียว --[[ผู้ใช้:Taweetham|taweethaも]] 07:23, 8 มกราคม 2553 (ICT)
 
#: --[[ผู้ใช้:Pongsak ksmTaweetham|Pongsak ksmtaweethaも]] 1207:4323, 8 มกราคม 2553 (ICT)
ผมก็เข้าใจว่าบทความ "คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน" ของประเทศต่างๆ มักจะไม่ถูกแปลเป็นภาษาไทย เช่นเดียวกับ [[สำนักนายกรัฐมนตรี]] ที่มีการเติม (ประเทศไทย) เข้าไป แต่ถ้าดูบทความในภาษาไทยแล้ว มีบทความ "[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)]]" เพียงบทความเดียวเท่านั้น
#ผมก็เข้าใจว่า
 
ผมก็เข้าใจว่า#: บทความ "คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน" ของประเทศต่างๆ มักจะไม่ถูกแปลเป็นภาษาไทย เช่นเดียวกับ [[สำนักนายกรัฐมนตรี]] ที่มีการเติม (ประเทศไทย) เข้าไป แต่ถ้าดูบทความในภาษาไทยแล้ว มีบทความ "[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)]]" เพียงบทความเดียวเท่านั้น
#: ในทัศนของผมคิดว่า ควรเติมเฉพาะหน่วยงานที่บทความภาษาไทย ซ้ำซ้อนกับของประเทศอื่นๆ เท่านั้น
--[[ผู้ใช้:Pongsak ksm|Pongsak ksm]] 12:43, 8 มกราคม 2553 (ICT)
#: --[[ผู้ใช้:Pongsak ksm|Pongsak ksm]] 12:43, 8 มกราคม 2553 (ICT)
# สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานเทียบเท่ากับระดับกระทรวง ผมจึงคิดว่าประเทศต่างๆ ก็มีหน่วยงานเช่นเดียวกันและแปลเป็นไทยบ่อยๆ ได้พอสมควร แต่ที่คุณ Pongsak ksm เสนอมาก็น่าคิดครับ
#: --[[ผู้ใช้:Taweetham|taweethaも]] 13:32, 8 มกราคม 2553 (ICT)
----
ขอสรุปตรงนี้ก่อนว่ามันต้องมีหน้าอะไรบ้าง
กลับไปที่หน้าโครงการ "การแก้ความกำกวม"