ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 80:
 
ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ยกฐานะวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกเป็นพระอารามหลวงเป็นกรณีพิเศษ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ ซึ่งได้ผ่านมติของมหาเถรสมาคม เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๒ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
 
== บันทึกการก่อสร้าง ==
{{โครงส่วน}}
 
การดำเนินการก่อสร้าง วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เริ่มดำเนินการโดยการถมดินปรับพื้นที่โครงการก่อสร้างวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ที่บริเวณบึงพระราม ๙ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร นับตั้งแต่วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ และเริ่มงานก่อสร้างอาคารวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกเมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙
 
จากนั้น เมื่อวันจันทร์ที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๙ เวลาประมาณ ๖.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงวางศิลาฤกษ์พระอุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก และทรงเปิดอาคารเรียน โรงเรียนวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก
 
 
== อาณาเขตที่ตั้งวัด ==
{{โครงส่วน}}
วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ตั้งอยู่ เลขที่ ๙๙๙ ถนนพระราม ๙ ซอย ๑๙ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นที่ลุ่มว่างเปล่า ขอบเขตที่ดินเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เนื้อที่ทั้งหมด ๘ – ๒ – ๕๔ ไร่ด้านทิศเหนือ ยาว ๒๓๔ เมตร ติดกับโรงเรียนสมาคมไทย – ญี่ปุ่น และที่ว่างเปล่าของเอกชน ด้านทิศตะวันออก ยาว ๖๑.๕ เมตร ติดคลองลาดพร้าว ด้านทิศใต้ ยาว ๒๑๗ เมตร ติดกับที่ดินที่กันไว้เป็นถนนทางเข้า ด้านทิศตะวันตก ยาว ๖๕ เมตร ติดกับโรงเรียนพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ของกรุงเทพมหานคร เดิมเป็นที่ลุ่มว่างเปล่า ขอบเขตที่ดินเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เนื้อที่ทั้งหมด ๘ – ๒ – ๕๔ ไร่ด้านทิศเหนือ ยาว ๒๓๔ เมตร ติดกับโรงเรียนสมาคมไทย – ญี่ปุ่น และที่ว่างเปล่าของเอกชน ด้านทิศตะวันออก ยาว ๖๑.๕ เมตร ติดคลองลาดพร้าว ด้านทิศใต้ ยาว ๒๑๗ เมตร ติดกับที่ดินที่กันไว้เป็นถนนทางเข้า ด้านทิศตะวันตก ยาว ๖๕ เมตร ติดกับโรงเรียนพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ของกรุงเทพมหานคร
 
== พระอุโบสถ : ปฐมเหตุแห่งความประหยัด==