ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมการฟรีดแมน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''สมการฟรีดแมน''' คือชุดสมการในการศึกษา[[จักรวาลวิทยาเชิงกายภา...
 
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สมการฟรีดแมน''' คือชุดสมการในการศึกษา[[จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ]]ที่ใช้อธิบายถึงการขยายตัวของอวกาศตามแบบจำลองของเอกภพซึ่งมีความกลมกลืนและเหมือนกันในทุกทิศทาง โดยอยู่ภายใต้บริบทของ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] ชุดสมการนี้พัฒนาขึ้นครั้งแรกโดย[[อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน]] ในปี ค.ศ. 1922<ref name=af1922>{{cite journal | first=A | last=Friedman | authorlink=Alexanderอเล็กซานเดอร์ Alexandrovich Friedmanฟรีดแมน | title=Über die Krümmung des Raumes | journal=Z. Phys. | volume=10 | year=1922 | pages=377–386 | doi=10.1007/BF01332580}} {{de icon}} (English translation in: {{cite journal | first=A | last=Friedman | title=On the Curvature of Space | journal=General Relativity and Gravitation | volume=31 | year=1999 | pages= 1991–2000 | url=http://adsabs.harvard.edu/abs/1999GReGr..31.1991F | doi=10.1023/A:1026751225741}})</ref> โดยพัฒนาขึ้นจาก[[สมการสนามของไอน์สไตน์|สมการสนาม]]ของ[[แรงโน้มถ่วง]]ของ[[ไอน์สไตน์]] เพื่อใช้ในการสร้าง[[มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์]] ฟรีดแมนคำนวณชุดสมการนี้เมื่อปี ค.ศ. 1924 ได้ค่าความโค้งของอวกาศออกมาเป็นค่าลบ<ref name=af1924>{{cite journal | first=A | last=Friedmann| authorlink=Alexanderอเล็กซานเดอร์ Alexandrovich Friedmanฟรีดแมน | title=Über die Möglichkeit einer Welt mit konstanter negativer Krümmung des Raumes | journal=Z. Phys. | volume=21 | year=1924 | pages=326–332 | doi=10.1007/BF01328280}} {{de icon}} (ดูฉบับแปลภาษาอังกฤษที่: {{cite journal | first=A | last=Friedmann | title= On the Possibility of a World with Constant Negative Curvature of Space | journal=General Relativity and Gravitation | volume=31 | year=1999 | pages=2001–2008 | url=http://adsabs.harvard.edu/abs/1999GReGr..31.2001F | doi=10.1023/A:1026755309811}})</ref>
 
== อ้างอิง ==