ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจับยึดอิเล็กตรอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
{{ชื่ออังกฤษ}}
 
การกักอิเล็กตรอน '''Electron capture''' หรือ '''Inverse Beta Decay''' เป็น [[รูปแบบการสลายตัว]] สำหรับ [[ไอโซโทป]] ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีจำนวน [[โปรตอน]] มากเกินไปใน [[นิวเคลียสของอะตอม|นิวเคลียส]] ของ [[อะตอม]] และมีพลังงานไม่เพียงพอในการปลดปล่อย [[โพซิตรอน]] อย่างไรก็ตาม อะตอมยังคงดำเนินรูปแบบการสลายตัวซึ่งใช้ได้สำหรับไอโซโทป [[กัมมันตภาพ]] ที่สามารถสลายตัวได้โดย [[positron emission]] ถ้าผลต่างพลังงานระหว่าง parent atom กับ daughter atom น้อยกว่า 1.022 [[MeV]] positron emission จะถูกห้าม [[electron capture]] จึงเป็นรูปแบบการสลายตัวอย่างเดียวที่เป็นไปได้ ยกตัวอย่างเช่น [[รูบิเดียม]]-83 จะสลายตัวเป็น [[คริปทอน]]-83 ได้อย่างเดียว โดย electron capture (ผลต่างพลังงานมีค่าประมาณ 0.9 MeV)
 
ในกรณีนี้ หนึ่งใน orbital [[อิเล็กตรอน]] โดยมักมาจาก K หรือ L [[electron shell]] ('''K-electron capture''' คือ '''K-capture''' หรือ '''L-electron capture''', '''L-capture''') จะถูกจับโดยโปรตอนตัวหนึ่งในนิวเคลียสทำให้เกิด [[นิวตรอน]] หนึ่งตัวกับ [[นิวตริโน]] หนึ่งตัว เนื่องจากโปรตอนถูกเปลี่ยนเป็นนิวตรอน จำนวนนิวตรอนจะเพิ่มขึ้นหนึ่ง และจำนวนโปรตรอนลดลงหนึ่ง แต่ [[เลขมวลอะตอม]] ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เนื่องจากการเปลี่ยนจำนวนโปรตอน electron capture จึงแปลง [[นิวไคลด์]] (nuclide) ไปเป็น [[ธาตุเคมี|ธาตุ]] ใหม่ อะตอมจะเคลื่อนไปสู่ [[สถานะกระตุ้น]] ซึ่ง inner shell เสียอิเล็กตรอนไปหนึ่งตัว ในสถานะกระตุ้นของมันนั้น อะตอมจะเปล่ง [[รังสีเอกซ์]] ([[การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]] ประเภทหนึ่ง) และ/หรือ [[Auger electrons]] ทั้งนี้ outer shell electron ตัวหนึ่งจะตกลงมาใน inner shell และปลดปล่อยพลังงานในรูปของรังสีเอกซ์ ด้วยเหตุนี้ electron capture จึงมักเกิดขึ้นบ่อย ๆ ในนิวไคลด์ที่มีขนาดใหญ่