ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือนผู้อุทิศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Túrelio (คุย | ส่วนร่วม)
image replaced by dupe before deletion after renaming
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
[[ไฟล์:Meister von Moulins 001.jpg|thumb|300px|“การชื่นชมของพระบุตร” [[ฌอง เฮย์]] ผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางขวาและเป็นส่วนหนึ่งของของภาพ]]
'''ภาพเหมือนผู้อุทิศ''' หรือ '''ภาพรวมผู้อุทิศ''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: '''{{lang-en|donor portrait''' หรือ '''votive portrait'''}}) เป็นคือ[[ภาพเหมือน]]ในจิตรกรรมหรืองานศิลปะแบบอื่นเช่นประติมากรรมที่แสดงภาพของเจ้าของภาพหรือผู้จ้างให้สร้างงานศิลปะชิ้นนั้นที่อาจจะรวมทั้งครอบครัว และญาติพี่น้องของผู้จ้าง หรือกลุ่มคนที่เกี่ยวกับผู้จ้างด้วย<ref>A Donor portrait refers to the portrait or Donor portrait alone, whereas a “votive portrait” may often refer to a whole work of art, including say a Madonna, especially if the Donor is very prominent. But the terms are not used very consistently by art historians, as Angela Marisol Roberts points out (Roberts, pp. 1-3, 22)</ref>
 
“ภาพรวมผู้อุทิศ” (votive portrait) มักจะภาพทั้งภาพที่รวมทั้งภาพหลักและผู้อุทิศที่อยู่ในภาพ ส่วนแต่ “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” (donor portrait) มักจะหมายถึงภาพเฉพาะส่วนที่เป็นเกี่ยวกับผู้อุทิศเท่านั้น
 
“ภาพเหมือนผู้อุทิศ” เป็นที่นิยมกันในการสร้าง[[ศิลปะคริสต์ศาสนา]] โดยเฉพาะในงานจิตรกรรมจาก[[ยุคกลาง]] และ[[ยุคเรอเนสซองซ์]]ที่มักจะแสดงผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางด้านหน้าสองข้างของภาพ และบ่อยครั้งที่แม้แต่ในตอนปลายของยุคเรอเนสซองซ์ที่ผู้อุทิศโดยเฉพาะเมื่อแสดงทั้งครอบครัวจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเอกในภาพมากที่ขัดกับทฤษฎีการวาด[[ทัศนมิติ]] เมื่อมาถึงยุคเรอเนสซองซ์ผู้อุทิศก็เริ่มมีความสำคัญขึ้นและกลายเป็นส่วนสำคัญของภาพที่อาจจะเป็นผู้เห็นเหตุการณ์หรือแม้แต่บางครั้งก็อาจจะเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์ไปเลยก็ได้
 
==ที่ตั้ง==