ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Umic2000 (คุย | ส่วนร่วม)
Umic2000 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
|result= ปฏิบัติการล้มเหลว สูญเสียกำลังพลและยุทโธปกรณ์จำนวนมาก
|combatant1={{flagcountry|สหราชอาณาจักร}}<br>{{flagcountry|สหรัฐอเมริกา}}<br>{{flag|โปแลนด์}} กองกำลังกู้ชาติโปแลนด์<br>{{flag|เนเธอร์แลนด์}} หน่วยใต้ดินเนเธอร์แลนด์<br>{{flag|แคนาดา}}
|combatant2={{flagcountry|Nazi Germany}}
|combatant2={{flag|นาซีเยอรมนี}}
|commander1=
<!-- See talk page regarding who and who should not be put in this section -->
{{flagicon|UK}} [[Bernardเบอร์นาร์ด Montgomery,มอนโกเมอรี 1st Viscount Montgomery of Alamein|(Bernard Montgomery]])<br>{{flagicon|USA}} [[ลูวิส เบรเรอตัน (Lewis H. Brereton]])<br>{{flagicon|UK}} [[มิลส์ เดมป์เซ (Miles Dempsey]])<br>{{flagicon|UK}} [[เฟรเดอริค บราวนิ่ง (Frederick Browning]])
|commander2commander2={{flagicon|Nazi Germany}} [[เกิร์ด วอน รุนด์สเตดต์ (Gerd von Rundstedt]])<br>{{flagicon|Nazi Germany}} [[วอล์เธอร์ โมเดล (Walter Model]])<br>{{flagicon|Nazi Germany}} [[เคิร์ต สตูเดนต์ (Kurt Student]])<br>{{flagicon|Nazi Germany}} [[วิลเฮล์ม บิตตริช (Wilhelm Bittrich]])<br>{{flagicon|Nazi Germany}} [[กุสตาฟ-อดอล์ฟ วอน แซงเกน (Gustav-Adolf von Zangen]])
|strength1= 1x กองพลยานเกราะ<br>2x กองพลทหารราบ<br>3x กองพลส่งกำลังทางอากาศ<br>1x กองพลน้อยส่งกำลังทางอากาศ
|strength2= 1x กองพลยานเกราะ (หย่อนกำลัง)
บรรทัด 66:
[[ไฟล์:Pegasus flash.jpg‎|thumb|100px|right|สัญลักษณ์กองพลส่งกำลังทางอากาศที่ 1 (1st Airborne Division) หรือกองพลปีศาจแดง (Red Devils) แห่งอังกฤษ]]
[[ไฟล์:9th_SS_Division_Logo.svg|thumb|100px|right|สัญลักษณ์กองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 โฮเฮนสเตาเฟน (9th SS Panzer Division Hohenstaufen) แห่งนาซีเยอรมนี]]
ในห้วงปฏิบัติการดังกล่าวนั้น กองกำลังสัมพันธมิตรได้มีการปะทะกับกองกำลังเยอรมันในหลายพื้นที่ แต่พื้นที่ที่มีการปะทะกันอย่างรุนแรงที่สุด คือ บริเวณสะพานจอห์น ฟรอสต์ [[:en:John_Frost_Bridge|(John Frost Bridge)]] ที่เมืองอาร์นเน็ม ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญที่[[:en:Bernard_Montgomery|จอมพลมอนโกเมอรี่อรี่ (F.M. Bernard Montgomery)]]ต้องการยึดครองให้ได้ เนื่องจากเป็นสะพานคอนกรีตขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับน้ำหนักของหน่วยยานเกราะได้เป็นอย่างดี
 
ฝ่ายอังกฤษซึ่งประกอบด้วย[[:en:1st_Airborne_Division|กองพลส่งกำลังทางอากาศที่ 1 (1st Airborne Division)]]และ[[:en:Polish_1st_Independent_Parachute_Brigade|กองพลน้อยทหารพลร่มที่ 1 โปแลนด์ (Polish 1st Independent Parachute Brigade)]]ได้ปะทะกับ[[:en:9_SS|กองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 โฮเฮนสเตาเฟน (9th SS Panzer Division Hohenstaufen)]] ของเยอรมันที่มาพักฟื้นและปรับกำลังที่เมืองแห่งนี้ ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้ยึดเชิงสะพานไว้คนละด้านก่อนจะมีการต่อสู้กันอย่างหนักหน่วงถึง 3 วัน 3 คืน
บรรทัด 76:
ในขณะที่ทหารอังกฤษในเมืองอาร์นเน็มยอมจำนนต่อเยอรมันนั้น กองทัพสนามที่ 30 ได้อยู่ห่างจากเมืองอาร์นเน็มไปเพียง 9.4 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เนื่องจากการเคลื่อนพลนั้นใช้ยานเกราะหนัก คือ รถถัง เป็นหัวขบวนจึงทำให้การเคลื่อนพลได้ล่าช้า ทั้งยังถูกฝ่ายเยอรมันก่อกวนด้วยการวินาศกรรมสะพานขนาดเล็กตามรายทางและปล่อยน้ำเข้าท่วมพื้นที่ลุ่ม ทำให้กองทัพสนามที่ 30 ต้องเสียเวลาวางสะพานทุ่นลอยและเคลื่อนพลไปบนท้องถนน จึงทำให้ตกเป็นเป้าของฝ่ายเยอรมันที่ลอบซุ่มโจมตี (Ambush) ด้วยปืนใหญ่รถถังและปืนต่อสู้รถถังจากข้างทาง ทำให้กองพลนี้ต้องเสียเวลาในการเคลียร์เส้นทางและจัดการกับซากรถ ด้วยเหตุนี้กองทัพสนามที่ 30 จึงมิอาจยกทัพมาช่วยเหลือกองพลปีศาจแดงได้ทันการณ์
 
การโยกย้ายกำลังของกองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 มาที่เมืองอาร์นเน็มนี้ เกิดขึ้นภายหลังจากภารกิจตีฝ่าวงล้อม (Pocket) ของอังกฤษและแคนาดาที่เมืองฟาเลส์ [[:en:Falaise_pocket|(Falaise pocket)]] ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 12-21 สิงหาคม ค.ศ. 1944 เพื่อเปิดช่องและคุ้มกันระวังหลังให้ทหารเยอรมันจากเมือง Merri และเมือง Falaise ถอยร่นออกมาทางเมือง Trun ซึ่งทางหน่วยใต้ดินของฮอลแลนด์ที่ทำงานเป็นสายลับให้อังกฤษได้รายงานข่าวกรองนี้ให้ทางอังกฤษทราบแล้ว รวมทั้งมีภาพถ่ายทางอากาศของกองทัพอากาศอังกฤษยืนยันว่ามียานเกราะของเยอรมันอยู่บริเวณใกล้กับเมืองนี้ แต่ ผบ. ควบคุมปฏิบัติการรวม คือ [[:en:/Frederick_Browning|พลโทเฟรเดอริค บราวนิ่ง (Lt. Gen. Frederick Browning)]] ของอังกฤษไม่เชื่อข่าวกรองนี้ อีกทั้งยังมีการแก่งแย่งกันเอาหน้ากันระหว่างสัมพันธมิตร โดยฝ่ายอังกฤษนำโดย[[:en:/Bernard_Montgomery|จอมพลมอนโกเมอรี่ (F.M. Bernard Montgomery)]] ซึ่งเป็นเจ้าภาพปฏิบัติการนี้ ต้องการให้ฝ่ายอังกฤษได้หน้าในการโอบทางดิ่งด้วยการยึดสถานที่ที่สำคัญกว่าฝ่ายอเมริกัน
 
ซึ่งการวางกำลังโดยการหว่านพลร่มกองพันทหารพลร่มที่ 1 ของ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]และกองพลน้อยพลร่ม[[โปแลนด์]] กองพลพลร่มที่ 82,101 ของ[[สหรัฐอเมริกา]] กระจายตามเขต[[ประเทศฮอลแลนด์]](เนเธอร์แลนด์) เข้าไปยัง[[เมืองไอด์โฮเฟน]] แล้วจะเปิดเส้นทางการรุกรบทางใต้ ให้แก่กองพลรถยานเกราะรักษาพระองค์ของอังกฤษ และทหารราบที่มากับรถลำเลียงของกองทัพที่ 2 เพื่อยึดและป้องกันการทำลายสะพานระหว่างจุดเริ่มต้นจาม[[เมืองไอด์โฮเฟน]]-[[เมืองฮาร์นเฮม]] กองกำลังที่จะกรุยทางให้แก่กองทัพที่ 2 ของอังกฤษได้แก่ กองพันพลร่มที่ 1 อังกฤษ พร้อมกับกองพลน้อยทหารพลร่มของโปแลนด์ และกองพลพลร่มที่ 82,101,506 ของสหรัฐอเมริกาพร้อมกับกองพันพลร่มที่ 3 บางส่วน เพื่อทำการเข้าตีและยึดเมืองไอด์โฮเฟน แล้วป้องกันสะพานเพื่อการขนกำลังพลของกองทัพที่ 2 อังกฤษและกองพลรถถังยานเกราะรักษาพระองค์