ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซุคฮอย ซู-9"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bg:Су-9
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16:
 
'''ซุคฮอย ซู-9''' ({{lang-en|''Sukhoi Su-9'' Fishpot}}) ([[นาโต้]]ใช้ชื่อรหัสว่า'''ฟิชพอท''') เป็น[[เครื่องบินสกัดกั้น]]ทุกสภาพอากาศติดตั้ง[[ขีปนาวุธ]]เครื่องยนต์เดียวที่สร้างขึ้นโดย[[สหภาพโซเวียต]]
 
==การพัฒนา==
ซู-9 เกิดจากการศึกษาอากาศพลศาสตร์ของศูนย์วิจัยในโซเวียต ในช่วง[[สงครามเกาหลี]] ซึ่งเพิ่มความรู้ในการปรับแต่งโครงสร้างเพื่อเพิ่มอากาศพลศาสตร์ให้กับเครื่องบินไอพ่น มันทำการบินครั้งแรกในปีพ.ศ. 2499 โดยใช้ชื่อว่า'''ที-405''' ซู-9 ถูกสร้างขึ้นในเวลาเดียวกับ[[ซุคฮอย ซู-7|ซู-7 ฟิตเตอร์]] และทั้งสองแบบก็ถูกพบโดยฝั่งตะวันตกที่วันมหกรรมการบินที่ตูชิโนเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2499 มันได้เข้าประจำการในปีพ.ศ. 2502
 
ซู-9 ถูกผลิตออกมาทั้งสิ้นประมาณ 1,100 ลำ เชื่อว่าซู-9 บางลำถูกพัฒนาเป็น[[ซุคฮอย ซู-11|ซู-11 ฟิชพ็อท-ซี]] ไม่มีลำใดถูกส่งออก ซู-9 ที่เหลือถูกเปลี่ยนมาเป็นซู-11 ในเวลาต่อมาซึ่งถูกปลดประจำการในทศวรรษที่ 2513 บางลำถูกดัดแปลงเพื่อใช้ทดสอบหรือเป็นเครื่องบินควบคุมด้วยรีโมตอย่าง[[อากาศยานไร้คนขับ]] มันถูกแทนที่โดยซู-11 [[ซุคฮอย ซู-15|ซู-15 ฟลากอน]] และ[[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25|มิก-25 ฟ็อกซ์แบท]]
 
สถิติการรบของซู-9 นั้นไม่ชัดเจน มันเป็นไปได้ที่ว่ามันทำหน้าที่ในการสกัดกั้นและลาดตระเวนซึ่งรายละเอียดยังคงเป็นความลับ
 
มีรายงานว่าซู-9 ได้เข้าสกัดกั้นเครื่องบินยู-2 ของฟรานซิส แกรี่ พาวเวอร์สที่ทำการบินเข้ามาในน่านฟ้าของโซเวียตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 ซู-9 ที่ได้รับการผลิตขึ้นใหม่ได้บินเข้าใกล้ยู-2 ลำดังกล่าว ซู-9 ลำนั้นไม่ได้ติดอาวุธและทำการชนเข้ากับยู-2 จนพลาดเป้า เนื่องมาจากขนาดและความเร็วที่แตกต่างกันของเครื่องบิทั้งสองลำ สุดท้ายซู-9 ก็บินจากไปเพราะเชื้อเพลิงใกล้หมด
 
ในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2505 ซู-9 ลำหนึ่งที่ได้รับการดัดแปลงถูกบินโดยวลาดิมีร์ เซอร์เกียฟวิช อิลยูชิน ได้สร้างสถิติโลกด้วยการบินขึ้นไปสูงถึง 28,852 เมตร (94,658 ฟุต) ในเดือนกันยายนปีเดียวกันอิลยูชินได้ทำลายสถิติมากมายด้วยเครื่อบินลำเดิม
 
== รายละเอียด ซุคฮอย ซู-9 ==
เส้น 32 ⟶ 43:
* '''อัตราไต่ขั้นต้น''': 137 เมตร/วินาที
* '''เพดานบินใช้งาน''': 17,000 เมตร
* '''อาวุธ''':อาวุธปล่อยอากาศสู่อากาศนำวิถีด้วยเรดาร์แบบ เอเอ-3 อัลคาไล (Alkaki) 4 นัด
 
 
== อ้างอิง ==