ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มอดุลัสของยัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YurikBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Modifying: zh:杨氏模量
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
นำลิงก์ข้ามภาษาที่แทรกออก สำหรับทความที่มีแล้ว
บรรทัด 9:
 
== การใช้งาน ==
ค่ามอดุลัสของยัง นั้นมีประโยชน์ใช้ในการคำนวณพฤติกรรมในการรับแรงของวัสดุ ตัวอย่างเช่น สามารถใช้ในการคาดคะเน ความยืดของลวดในขณะรับแรงดึง หรือคำนวณระดับแรงดันที่กดลงบนแท่งวัสดุ แล้วทำให้แท่งวัสดุยวบหักลง ในการคำนวณจริงอาจมีค่าอื่นๆ เกี่ยวข้องด้วย เช่น [[มอดุลัสของแรงเฉือน]] ([[:en:shear modulus]]) [[ความหนาแน่น]] ([[:en:density]]) [[อัตราส่วนของปัวซง]] ([[:en:Poisson's ratio]]) และ [[ความหนาแน่น]]
 
=== ความเป็นเชิงเส้น และ ไม่เป็นเชิงเส้น ===
ในวัสดุหลายประเภท ค่ามอดุลัสของยัง นั้นมีค่าคงที่ ที่ระดับความยืดช่วงหนึ่ง วัสดุประเภทนี้จะเรียกว่า '''เป็นวัสดุเชิงเส้น''' และมีคุณสมบัติเป็นไปตาม [[กฏของฮุค]] ([[:en:Hooke's law]]) ตัวอย่างของวัสดุเชิงเส้น คือ [[เหล็ก]] ([[:en:steelแก้ว]]) และ [[เส้นใยคาร์บอน]] ([[:en:carbon fiber]]) และ [[แก้ว]] ([[:en:glass]]) ส่วน [[ยาง]] ([[:en:rubber]]) นั้นเป็น'''วัสดุไม่เป็นเชิงเส้น'''
 
=== วัสดุแบบมีทิศทาง ===
โลหะหลายชนิด รวมทั้ง[[เซรามิก]] และ วัสดุอื่นๆ นั้นเป็นวัสดุ'''[[ไอโซทรอปิก]]''' คือ มีคุณสมบัติไม่ขึ้นกับทิศทาง
 
แต่ก็มีวัสดุบางประเภท โดยเฉพาะวัสดุผสม ที่มีโครงสร้างเป็นเส้นใย หรือ โครงสร้างในลักษณะเดียวกัน เป็นผลให้คุณสมบัติการรับแรงของวัสดุนั้นขึ้นกับทิศทาง คือ เป็นวัสดุ'''[[แอนไอโซทรอปิก]]''' ([[:en:anisotropy|anisotropic]]) ตัวอย่างเช่น [[เส้นใยคาร์บอน]] นั้นจะมีความแข็งเกร็งมาก (ค่ามอดุลัสของยังสูง) หากรับแรงตามแนวเส้นใย (ในแนวขนานกับแนวเส้นใย) วัสดุอื่นๆ ก็มี [[ไม้]] และ [[คอนกรีตเสริมแรง]] ([[:en:reinforced concrete]])
 
== การคำนวณ ==