ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
{{ตรวจแก้รูปแบบ}}
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
== แนวคิด ==
ตามแนวความคิดของ Michel Neumann ได้แสดงความเห็นว่าในแนวคิดเรื่อง “Rule of Law” นั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 แนวความคิดใหญ่ ๆ ได้ดังนี้คือ.-
# เป็นแนวความคิดทางด้าน[[ศีลธรรม ]](Moralized conception) ซึ่งเป็นแนวความคิดทั่วไปสำหรับประเทศที่ใช้หลักการ “Rule of Law” หลักศีลธรรมที่แน่นอนต้องสามารถเห็นได้อย่างชัดเจน และในบางกรณีแนวความคิดทางศีลธรรมมักเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม
# ในแนวความคิดที่สองเป็นแนวความคิดที่ไม่เกี่ยวเรื่องศีลธรรม (Non-moralized conception) เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียกว่า “กฎหมายและคำสั่ง” (Law and Order) ซึ่งในเรื่องนี้ไม่ค่อยให้ความสนใจเกี่ยวกับการที่รัฐต้องให้ประชาชนเชื่อฟังกฎหมายเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งความปลอดภัยสาธารณะ ถ้าแนวความคิดเรื่องศีลธรรมไม่ได้มีชื่อเสียงได้รับความนิยม แนวความคิดเรื่อง “กฎหมายและคำสั่ง” (Law and Order) จะเป็นแนวความคิดที่น่ากลัวและเป็นแนวความคิดที่ทำให้นึกไปถึงแนวความคิดในเรื่อง “police” และส่งเสริมแนวความคิดฝ่ายขวา
 
Dicey ซึ่งได้อธิบายความเห็นในเรื่อง “Rule of Law” และ “Law of Constitution” ไว้ว่าเป็นคุณสมบัติของ[[สถาบันทางการเมือง]]ในอังกฤษ จริงๆ แล้ว Dicey ไม่ได้ให้ความหมายของคำว่า “Rule of Law” อย่างตรงไปตรงมา แต่ได้กล่าวอย่างเป็นนัยๆ กล่าวคือ.-
* เมื่อเรากล่าวถึงอาจสูงสุดหรือ “Rule of Law” นั้นเป็นเรื่องที่มีอยู่ใน[[รัฐธรรมนูญ]]ของ[[ประเทศอังกฤษ”อังกฤษ]]” หมายความว่า ไม่มีผู้ใดจะถูกลงโทษหรือได้รับความทรมานทางกายหรือถูกริบทรัพย์สินจนกว่าจะได้รับการพิสูจน์อย่างชัดเจนว่าได้กระทำความผิดกฎหมายตาม[[กระบวนการยุติธรรม]] ในความรู้สึกของเรื่องนี้ แนวความคิดในเรื่อง “Rule of Law” กลายเป็นแนวความคิดที่ขัดแย้งกับทุกๆ ความคิดของระบบรัฐบาลที่มีพื้นฐานอยู่บนการใช้อำนาจของบุคคลหรือำนาจของอย่างกว้างขวาง, ใช้อำนาจตามอำเภอใจ, ใช้อำนาจโดยใช้ดุลยพินิจโดยมิชอบ
* ไม่ใช่แค่ไม่มีผู้ใดอยู่เหนือกฎหมาย แต่ในที่นี้หมายถึงทุกคน (ไม่ใช่ผู้ใดผู้หนึ่ง) ไม่ว่าจะมีตำแหน่งหรือเงื่อนไขอย่างไร”
* รัฐธรรมนูญคือผลจากการสร้างกฎหมายเบื้องต้นสำหรับประเทศ” หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สิทธิของประชาชนเกิดจากการตัดสินกฎหมายในทุก ๆ วัน ใน[[คดีอาญา]]และใน[[คดีแพ่ง]]นั้น ไม่ใช่สิทธิที่มาจากรัฐธรรมนูญอันเป็นบทบัญญัติกลางของรัฐ โดยนัยนี้ Dicey หมายถึงว่าในความเป็นจริงสิทธิของพวกเรามาจากกฎหมาย Common Law ในประเทศอังกฤษ
===แนวความคิดในเรื่องศีลธรรม ( Moralized conceptions )===
บุคคลที่มีแนวความคิดในทำนองนี้ได้ไปไกลกว่าความคิดของ Dicey เช่น Hayek, Fuller,Raz,Rawls และอีกหลายคนที่มีความเชื่อมั่นต่อ[[สิทธิมนุษยชนมนุษยชน]]บนฉากของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งมีจุดร่วมกันในเรื่องการขยายแนวความคิดของ Dicey ควรได้รับการปรับปรุงโดยการแสดงออกให้เป็นคุณค่าที่ยอมรับกันโดยทั่วไป (universal values) ซึ่งโดยนัยนี้หมายถึงว่ากฎของ “Rule of Law” นั้นมีนัยของความเป็นกฎศีลธรรมที่แน่นอน โดยในแนวความคิดนี้แบ่งออกเป็น 2 แนวคือ การตีความหมายอย่างกว้าง , และการตีความหมายอย่างแคบ สำหรับผู้ตีความหมายอย่างกว้างได้แก่ ความคิดของ Hayek และผู้ที่ตีความหมายอย่างแคบได้แก่ Rawls, Raz,
===แนวความคิดที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องศีลธรรม ( Non-moralized conceptions )===
ในเรื่องนี้เราจะย้อนกลับไปตรวจสอบความคิดของ Dicey ซึ่งถูกมองข้ามไป โดย Dicey ได้กล่าวถึงการดำรงอยู่ของการดำเนินการของรัฐ (existent state of affairs) ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญของอังกฤษในช่วงหนึ่งของประวัติศาสตร์ โดย Dicey ไม่ได้กลับไปตรวจสอบงานเขียนของคำพิพากษาในเรื่องก่อน ๆ แต่กลับยึดเอาบางส่วนของ Tocqueville ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญของประเทศอังกฤษ, [[สหรัฐอเมริกา]] และ[[สวิตเซอร์แลนด์]] และได้ชี้ว่าในความเห็นของ Tocaueville ว่า “ไม่ใช่แค่ลักษณะของรัฐธรรมนูญในประเทศอังกฤษ แต่เป็นลักษณะของสถาบันในประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นความพิเศษเฉพาะบางส่วนในชีวิตคนในอังกฤษ” และเป็นลักษณะเฉพาะของคนในชาติ ซึ่งหากเป็นลักษณะนี้เราได้ระบุความแตกต่างจากที่เป็นกฎทั่วไปจากความคิดทางศีลธรรมของ International Commission of Jurist หรือแนวความคิดที่เป็นนามธรรมของ Raws หรือ Raz
อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างนี้ไม่ได้เกิดความไม่เห็นด้วยระหว่างแนวความคิดที่เป็นของ Dicey กับแนวความคิดต่อ ๆ มา เพราะว่า Dicey ได้พิจารณา “Rule of Law” ส่วนใหญ่บนหลักที่เกิดจากการเปรียบเทียบ สำหรับ Dicey แล้วหลัก “Rule of Law” นั้นคือการดำรงอยู่ของของการดำเนินการของรัฐ (existent state of affairs) ซึ่งเป็นหลักการที่ใช้ปกครองน้อยกว่าความคิดมาตรฐานของพวกที่มีแนวความคิดแบบแคบ ซึ่งพวกเขาอาจจะเป็นมาตรฐานได้ แต่พวกเขาได้ประสบความสำเร็จอย่างมากในโลกแห่งความจริง ทำให้รัฐมากมายได้นำหลัก “Rule of Law” มาใช้ แต่ Dicey ได้ตรวจสอบหลักของเขาเองโดยมีความสนใจตรงข้ามจากสิ่งที่เราเห็น เขาได้มองหาบางสิ่งที่แตกต่างในประเทศอังกฤษ แต่ในขณะที่พวกที่สืบทอดความคิดของเขาต่อมาส่วนใหญ่จะมองหาหลักบางอย่างที่เป็นสากลร่วมกัน แต่อย่างไรก็ตามเขาได้เสนอความคิดที่เป็นทั่วไปในหลักการ “Rule of Law” ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวางนอกประเทศอังกฤษ
หลักการ “Rule of Law” นี้ได้ให้ความหมายที่เป็นแกนหลักในความเห็นของ Dicey แต่ในความเห็นของ Jennning ไดโต้แย้งความเห็นของ Dicey ว่า Dicey พยายามที่จะยกหลัก “Rule of Law” มาให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกับการใช้อำนาจตามอำเภอใจอย่างผิด ๆ เพราะว่าที่จริงแล้วการใช้อำนาจโดยใช้แต่ดุลยพินิจของตนเองส่วนใหญ่ก็มาจากกฎหมาย ตัวอย่างเช่น ผู้เก็บภาษี,ตำรวจ,ผู้พิพากษา,และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ และประการต่อมาเขาเห็นว่า Dicey มีความขัดแย้งในตนเองในงานชิ้นก่อนๆ ของเขา และเขาได้ให้ความเห็นว่าในความเห็นของ Dicey ซึ่งเป็นความเห็นเริ่มแรกในเรื่อง “Rule of Law” นั้นไม่สามารถเป็นแนวความคิดที่เขาได้ร่างให้สัมพันธ์กับการสังเกตของ Tocaueville นั่นหมายความว่าความจริงแล้วหลักการดั้งเดิมของ “Rule of Law” นั้นไม่ได้เป็นการรับรองสิทธิของปัจเจกชน แต่เป็นการใช้ “Rule of Law” ในฐานะของความเป็นสูงสุดของอำนาจกฎหมาย ซึ่งหมายความว่าจะไม่มีผู้ใดจะต้องได้รับความทรมานทางร่างกายหรือถูกริบทรัพย์สินนอกจากคำสั่งของกฎหมาย
อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างนี้ไม่ได้เกิดความไม่เห็นด้วยระหว่างแนวความคิดที่เป็นของ Dicey กับแนวความคิดต่อ ๆ มา เพราะว่า Dicey ได้พิจารณา “Rule of Law” ส่วนใหญ่บนหลักที่เกิดจากการเปรียบเทียบ สำหรับ Dicey แล้วหลัก “Rule of Law” นั้นคือการดำรงอยู่ของของ[[การดำเนินการของรัฐ]] (existent state of affairs) ซึ่งเป็นหลักการที่ใช้ปกครองน้อยกว่าความคิดมาตรฐานของพวกที่มีแนวความคิดแบบแคบ ซึ่งพวกเขาอาจจะเป็นมาตรฐานได้ แต่พวกเขาได้ประสบความสำเร็จอย่างมากในโลกแห่งความจริง ทำให้รัฐมากมายได้นำหลัก “Rule of Law” มาใช้ แต่ Dicey ได้ตรวจสอบหลักของเขาเองโดยมีความสนใจตรงข้ามจากสิ่งที่เราเห็น เขาได้มองหาบางสิ่งที่แตกต่างในประเทศอังกฤษ แต่ในขณะที่พวกที่สืบทอดความคิดของเขาต่อมาส่วนใหญ่จะมองหาหลักบางอย่างที่เป็นสากลร่วมกัน แต่อย่างไรก็ตามเขาได้เสนอความคิดที่เป็นทั่วไปในหลักการ “Rule of Law” ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวางนอกประเทศอังกฤษ
Wikipedia ซึ่งเป็น Free Encyclopedia ได้ให้ความหมายของคำว่า “Rule of Law” ว่า “เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์กับแนวความคิดเรื่องเสรีนิยม ( This article is related to Liberalism) และให้ความหมายว่าอำนาจของรัฐบาลที่นำมาบริหารประเทศต้องจะต้องสอดคล้องกับกฎหมายลายลักษณ์อักษรซึ่งจะต้องถูกนำมาใช้ผ่านกระบวนการที่สร้างขึ้นโดยมีหลักการที่มีความประสงค์จะป้องกันการใช้อำนาจตามอำเภอใจ (arbitrary ruling) เพื่อใช้บังคับกับปัจเจกชน”
หลักการ “Rule of Law” นี้ได้ให้ความหมายที่เป็นแกนหลักในความเห็นของ Dicey แต่ในความเห็นของ Jennning ไดโต้แย้งความเห็นของ Dicey ว่า Dicey พยายามที่จะยกหลัก “Rule of Law” มาให้เป็นคู่ตรงกันข้ามกับการใช้อำนาจตามอำเภอใจอย่างผิด ๆ เพราะว่าที่จริงแล้วการใช้อำนาจโดยใช้แต่ดุลยพินิจของตนเองส่วนใหญ่ก็มาจากกฎหมาย ตัวอย่างเช่น ผู้เก็บภาษี,[[ตำรวจ]],[[ผู้พิพากษา]],และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ และประการต่อมาเขาเห็นว่า Dicey มีความขัดแย้งในตนเองในงานชิ้นก่อนๆ ของเขา และเขาได้ให้ความเห็นว่าในความเห็นของ Dicey ซึ่งเป็นความเห็นเริ่มแรกในเรื่อง “Rule of Law” นั้นไม่สามารถเป็นแนวความคิดที่เขาได้ร่างให้สัมพันธ์กับการสังเกตของ Tocaueville นั่นหมายความว่าความจริงแล้วหลักการดั้งเดิมของ “Rule of Law” นั้นไม่ได้เป็นการรับรองสิทธิของปัจเจกชน แต่เป็นการใช้ “Rule of Law” ในฐานะของความเป็นสูงสุดของอำนาจกฎหมาย ซึ่งหมายความว่าจะไม่มีผู้ใดจะต้องได้รับความทรมานทางร่างกายหรือถูกริบทรัพย์สินนอกจากคำสั่งของกฎหมาย
 
Wikipedia ซึ่งเป็น Free Encyclopedia ได้ให้ความหมายของคำว่า “Rule of Law” ว่า “เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์กับแนวความคิดเรื่องเสรีนิยม ( This article is related to Liberalism) และให้ความหมายว่าอำนาจของรัฐบาลที่นำมาบริหารประเทศต้องจะต้องสอดคล้องกับกฎหมายลายลักษณ์อักษรซึ่งจะต้องถูกนำมาใช้ผ่านกระบวนการที่สร้างขึ้นโดยมีหลักการที่มีความประสงค์จะป้องกันการใช้อำนาจตามอำเภอใจ (arbitrary ruling) เพื่อใช้บังคับกับปัจเจกชน”[[ปัจเจกชน]]”
 
== บททั่วไป ==
แนวความคิดที่ได้รับการยอมรับว่ามีชื่อเสียงมากที่สุดเรื่อง “Rule of Law” นั้นได้ถูกเขียนโดย Albert Venn Dicey ในหนังสือเรื่อง “Law of Constitution” ในปี 1885 :
 
เมื่อเราพูดว่าความเป็นสูงสุดหรือ “rule of law” คือลักษณะของรัฐธรรมนูญของประเทศอังกฤษ เราสามารถแบ่งความเด่นชัดในหลักดังกล่าวได้อย่างน้อย 3 หลักคือในเบื้องต้น ไม่มีผู้ใดจะได้รับโทษหรือได้รับความทรมานทางกายหรือผลประโยชน์เว้นแต่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นอย่างเด่นชัด
ข้าราชการของรัฐทุกคน แม้ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรีต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย และมีความรับผิดชอบต่อทุกการกระทำภายใต้กฎหมายโดยปราศจากอภิสิทธิ์เช่นเดียวกับพลเมืองอื่น การพิจารณาคดีต่างๆ จะต้องผ่านกระบวนการอย่างสมบรูณ์ก่อนที่มาถึงศาล และดำเนินการพิจารณาโดยคำนึงถึงสภาพของเขา, ความสมควรที่จะได้รับโทษ, หรือการจ่ายค่าปรับตามความเหมาะสมกับค่าเสียหาย สำหรับการกระทำความผิดของเขาแต่ต้องไม่เกินตามที่กฎหมายบัญญัติ (รวมหมายถึงทั้งข้าราชการของรัฐและข้าราชการการเมืองด้วย) และผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด ที่ต้องทำงานภายใต้คำสั่งของผู้บังคับบัญชา ต้องรับผิดชอบสำหรับการกระทำใดๆ ที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้ต่อประชาชน
 
ในเบื้องต้น ไม่มีผู้ใดจะได้รับโทษหรือได้รับความทรมานทางกายหรือผลประโยชน์เว้นแต่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นอย่างเด่นชัด
ข้าราชการของรัฐทุกคน แม้ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรีต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย และมีความรับผิดชอบต่อทุกการกระทำภายใต้กฎหมายโดยปราศจากอภิสิทธิ์เช่นเดียวกับพลเมืองอื่น [[การพิจารณาคดี]]ต่างๆ จะต้องผ่านกระบวนการอย่างสมบรูณ์ก่อนที่มาถึง[[ศาล]] และดำเนินการพิจารณาโดยคำนึงถึงสภาพของเขา, ความสมควรที่จะได้รับโทษ, หรือการจ่ายค่าปรับตามความเหมาะสมกับค่าเสียหาย สำหรับการกระทำความผิดของเขาแต่ต้องไม่เกินตามที่กฎหมายบัญญัติ (รวมหมายถึงทั้งข้าราชการของรัฐและข้าราชการการเมืองด้วย) และผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด ที่ต้องทำงานภายใต้คำสั่งของผู้บังคับบัญชา ต้องรับผิดชอบสำหรับการกระทำใดๆ ที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้ต่อประชาชน
( Law of Constitution (London: MacMillan, 9th ed., 1950), 194.
ดังนั้น ผู้ที่บังคับใช้กฎหมายทุกคนจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายที่เข้าบังคับใช้ด้วย
 
หลักการของ “Rule of Law” โดยทั่วไปประกอบด้วยหลายแนวคิด เช่น
==หลักการของ “Rule of Law”==
หลักการของ “Rule of Law” โดยทั่วไปประกอบด้วยหลายแนวคิด เช่น
* Nullum crimen, nulla poena sine sine praevia lega poena - หลักการนี้หมายถึงการที่ไม่มีความผิด สำหรับเรื่องที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้เป็นความผิดและบัญญัติโทษไว้
* Presumption of innocence - หลักการที่ว่าผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าศาลจะตัดสิน
* Double Jeopardy - หลักการที่ว่าด้วยบุคคลจะต้องไม่ถูกดำเนินคดีซ้ำจากการกระทำความผิดเดิมของตน ยกเว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามีพยานหลักฐานอันสำคัญหรือเป็นพยานหลักฐานใหม่ที่จะใช้ดำเนินคดีกับผู้ต้องหา หรือเรียกในภาษาละตินว่า “res judicata”
* Legal Equity - ปัจเจกชนทุกคนย่อมได้รับความเสมอภาคกัน โดยปราศจากความแตกต่างในเรื่องสถานะทางสังคม,[[ศาสนา]],แนวความคิดทางการเมือง, ฯลฯ ดังเช่นที่[[มองเตสกิเออ]] กล่าวไว้ว่า “[[กฎหมาย]]สมควรเป็นเช่นเดียวกับความตาย ซึ่งจะไม่ละเว้นผู้ใด”
แนวความคิดเรื่อง “Rule of Law” ในเนื้อแท้ของมันเองกล่าวได้ว่าไม่มีอะไรนอกจากคำว่า “ความยุติธรรม” (justice) ในตัวกฎหมายเอง แต่หลักที่ง่ายกว่านั้นคือทำอย่างไรให้ระบบกฎหมายส่งเสริมตัวกฎหมาย เมื่อผลลัพธ์ของเรื่องนี้ทำให้ประเทศที่ไม่เป็นประชาธิปไตยและไม่ได้ใช้หลักสิทธิมนุษยชนที่สามารถดำรงอยู่ได้โดยทั้งใช้หรือไม่ใช้หลัก “Rule of Law” แนวความคิดนี้มีผู้โต้แย้งหลายคนว่าสามารถนำไปใช้กับประเทศสาธารณประชาชนจีนได้หรือไม่ อย่างไรก็ตาม “Rule of Law” ถูกพิจารณาว่าเป็นหลักการเบื้องต้นของความเป็น[[ประชาธิปไตย]] ซึ่งเป็นหลักการที่มีหลักการทั่วไปสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันระหว่างประเทศ[[สาธารณประชาชนจีน]]และประเทศตะวันตก
 
“Rule of Law” เป็นแนวความคิดที่มีมาแต่โบราณซึ่งตรวจสอบพบครั้งแรกในแนวความคิดของ Aristotle เป็นกฎที่มีที่มาจากความเป็นระเบียบตามธรรมชาติ มันเป็นแนวความคิดที่มีความสำคัญในการพรรณนาแนวความคิดนี้ และมีผู้รู้ทางกฎหมายพยายามที่จะอธิบายมัน แนวความคิดในเรื่องความเป็นกลางของกฎหมายก็ถูกค้นพบในนักปรัชญาการเมืองชาวจีนด้วยในแนวความคิดสำนัก[[กฎหมายนิยม]] แต่ความเป็น[[รัฐบาลเผด็จการ]]ทำให้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงในแนวความคิดทางการเมืองว่าอย่างน้อยที่สุดก็มีการเน้นในเรื่องความสัมพันธ์ทางศีลธรรมของบุคคลหรือฐานะทางกฎหมายของอีกบุคคลหนึ่ง แต่ถึงอย่างไรก็ตามแม้ว่า[[ประเทศจีน]]จะไม่สนใจในเรื่องกฎหมาย แต่ในทางปฏิบัติแล้วพบว่ามีความจำเป็นที่จะเสแสร้งว่าการปฏิบัติดังกล่าวเป็นเหตุผลที่เหมาะสมกับหลักการในการปกครอง
 
ในระบบกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยประเพณี “Rule of Law” ได้ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือในการต่อต้านเผด็จการและทำให้การบังคับใช้กฎหมายมีอยู่อย่างจำกัด และเป็นการจำกัดอำนาจของรัฐบาล ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีการโต้แย้งเกี่ยวกับ “Rule of Law” ในเรื่องที่ว่ามันจะสามารถรักษาอำนาจของรัฐไว้ได้หรือไม่
แม้ว่าจะมีความเห็นร่วมกันทั้งในประเทศจีนและในประเทศตะวันตกว่า “Rule of Law” เป็นสิ่งดี แต่นี่ไม่ใช่ความจริงมาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไป รัฐบาลคอมมิวนิสต์หลายรัฐบาล รวมทั้งประเทศจีนในช่วงการปฏิวัติวัฒนธรรม ไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดเรื่อง “Rule of Law” และตอบโต้ด้วยการนำหลักกฎหมายของ Marxist สำหรับการต่อสู้ในเรื่องชนชั้น ยิ่งกว่านั้น “Rule of Law” ยังลดความกลัวในเรืองรัฐบาลเผด็จการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องกฎหมายที่คลุมเครือของรัฐบาลนาซีเยอรมัน ซึ่งทำให้ประชาชนกลัวรัฐบาล
 
แม้ว่าจะมีความเห็นร่วมกันทั้งในประเทศจีนและในประเทศตะวันตกว่า “Rule of Law” เป็นสิ่งดี แต่นี่ไม่ใช่ความจริงมาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไป [[รัฐบาลคอมมิวนิสต์]]หลายรัฐบาล รวมทั้งประเทศจีนในช่วง[[การปฏิวัติวัฒนธรรม]] ไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดเรื่อง “Rule of Law” และตอบโต้ด้วยการนำหลักกฎหมายของ Marxist สำหรับการต่อสู้ในเรื่องชนชั้น ยิ่งกว่านั้น “Rule of Law” ยังลดความกลัวในเรืองรัฐบาลเผด็จการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องกฎหมายที่คลุมเครือของรัฐบาล[[นาซี]]เยอรมัน ซึ่งทำให้ประชาชนกลัวรัฐบาล
การพัฒนาในประเทศจีน “Rule of Law” ได้กลายเป็นส่วนสำคัญของการโต้แย้งทางเมืองในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 และจะเป็นหลักการทั่วไปของทุกรัฐและทุกพรรคการเมืองและไปปรากฏในรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
===การพัฒนาในประเทศจีน===
การพัฒนาในประเทศจีน “Rule of Law” ได้กลายเป็นส่วนสำคัญของการโต้แย้งทางเมืองในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 และจะเป็นหลักการทั่วไปของทุกรัฐและทุกพรรคการเมืองและไปปรากฏในรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
แม้ว่ากฎหมายอาจจะป้องกันรัฐบาลจากการโต้แย้งอื่น แต่ก็ยังสร้างระบบการบริหารให้มีประสิทธิภาพและลดความกลัวและความไม่เห็นด้วยของรัฐบาล ความพยายามในการรักษาอำนาจของรัฐ ดังนั้นประเทศจีนเองก็นำแนวความคิดเรื่อง “Rule of Law” ไปใช้แต่ไม่ได้เน้นที่แนวความคิดนี้แนวความคิดเดียว และแนวความคิดเรื่อง “Rule of Law” เองได้ป้องกันความแตกต่างของความเห็นภายในรัฐบาลจากความวุ่นวายที่ไม่สามารถควบคุมได้
ในบริบทของประเทศจีน กฎหมายคือการแสดงความเป็นประชาชน และกฎหมายได้สืบทอดอำนาจของมันเองจากเจตนารมณ์ของประชาชนซึ่งปรากฏชัดในตัวมันเองในการปฏิวัติของ[[คอมมิวนิสต์]] มันทำให้เห็นว่าประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอิทธิพลโดยการป้องกันความวุ่นวายในสังคมซึ่งเราจะเห็นได้จากการปฏิวัติทางวัฒนธรรม, ความศรัทธาอย่างแรงกล้าในบุคลิกของ[[เหมา เจอ ตุ๋งตุง]] และการเพิ่มขึ้นของอำนาจรัฐบาลกลางมากกว่าการกระจายอำนาจไปยังท้องถิ่น เป็นเรื่องแปลกที่หลายรัฐบาลทั้งสนับสนุนและไม่เห็นด้วยกับจุดมุ่งหมายและผลกระทบของ “Rule of Law” ในประเทศจีนเป็นการเพิ่มขึ้นของอำนาจแทนที่จะเป็นการลดอำนาจของ[[พรรคคอมมิวนิสต์]]ของประเทศจีน
 
มีข้อวิจารณ์จำนวนมากเกี่ยวกับหลักการ “Rule of Law” ในแนวความคิดหนึ่งที่ว่าเป็นการเน้นกระบวนการในการสร้างกฎหมาย โดยเป็นการมองข้ามเนื้อหาและผลลัพธ์ของกฎหมาย และมีข้อวิจารณ์ว่า “Rule of Law” เป็นหลักการที่สร้างชนชั้นปกครองขึ้นมาโดยอาศัยหลักกฎหมายเพราะว่าพวกชนชั้นปกครองเป็นคนกำหนดว่าความผิดใดสมควรที่จะได้รับการกำหนดไว้ในกฎหมายหรือไม่ ยังไม่รวมข้อวิจารณ์ที่ว่า “Rule of Law” สามารถป้องกันการกระทำตามอำเภอใจได้จริงหรือไม่ ยกตัวอย่างเช่นในประเทศจีนใช้กระบวนการทางกฎหมายดำเนินการกับผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมือง การกระทำดังกล่าวอาจจะไม่เป็นการกระทำตามอำเภอใจหรือเป็นการกระทำของบุคคลที่มีความคิดโดยไม่มีหลักการ แต่อาจจะเป็นการกระทำที่ถูกต้องโดยหลักของกฎหมาย แต่เป็นการกระทำที่มีวัตถุประสงค์อื่นแฝงอยู่ และมีข้อโต้แย้งว่า การมีส่วนประกอบของกฎหมายที่เลวดีกว่าไม่มีกฎหมายยกตัวอย่างของผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองสามารถโต้แย้งโดยใช้ “Rule of Law” เพื่ออย่างน้อยที่สุดผู้ไม่เห็นทางการเมืองก็ยังทราบว่าจะเกิดอะไรขึ้นสำหรับตนเองในอนาคต
==รูปแบบของ “Rule of Law”==
สำหรับ Shker ได้ทำการสำรวจประวัติศาสตร์ของ “Rule of Law” และได้สร้างรูปแบบของ “Rule of Law” ไว้ 2 รูปแบบ คือ 1. “Rule of Law” ในฐานะ rule of reason ( ซึ่งแนวความคิดนี้สอดคล้องกับของ Aristotle ) และ 2. “Rule of Law” ในฐานะที่ “Rule of Law” เป็นเครื่องมือที่จำกัดและป้องกันตัวแทนของรัฐบาลกดขี่คนส่วนใหญ่ของสังคม (ซึ่งแนวคิดนี้สอดคล้องกับของ Monterquieu)
Johnสำหรับ morrow Shker ได้แบ่งประเภททำการสำรวจประวัติศาสตร์ของ “Rule of Law” ตามเวลาในประวัติศาสตร์ และได้สร้างรูปแบบของ “Rule of Law” ไว้ดังนี้ 2 รูปแบบ คือ.-
# “Rule of Law” ในฐานะ rule of reason ( ซึ่งแนวความคิดนี้สอดคล้องกับของ Aristotle ) และ
1. “Rule of Law” ในแนวความคิดทางการเมืองโบราณของ Plato และ Aristotle ในงานของ Plato “The Law” ชี้ว่ากฎหมายมีส่วนรักษาไว้ซึ่งระบบการเมืองใด ๆ และระบบกฎหมายควรเป็นเครื่องกำกับ ไม่ใช่เรื่องของการสงครามหรือการบรรลุถึงซึ่งความดีสูงสุด แต่เป็นเครื่องป้องกันผลประโยชน์ในการสร้างระบบทางการเมือง กฎหมายนั้นเป็นส่วนชดเชยต่อผู้ปกครองที่เป็นนักปราชญ์ (philosophical rulers) ผู้ซึ่งมีปัญญาและมีคุณธรรมซึ่งจะทำให้เป็นการรับรองว่าผู้ปกครองจะกระทำการเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของคนส่วนรวมทั้งหมด ในส่วนของAristotleนั้นมองว่าหลัก “Rule of Law” นั้นเป็นส่วนหนึ่งของการปกครองของบุคคลคนเดียว เช่นเดียวกับที่ Plato เขียนไว้ใน “The Law” และ Aristotle นั้นเน้นไปที่กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Unwritten custom) แต่ Aristotle ไม่ได้อธิบายว่าทำไมเขาจึงเน้นไปที่กฎหมายดังกล่าว อาจจะเป็นเพราะว่าเขาเห็นชอบด้วยกับหลักกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) ซึ่งมีความสอดคล้องกัน
สำหรับ Shker ได้ทำการสำรวจประวัติศาสตร์ของ “Rule of Law” และได้สร้างรูปแบบของ “Rule of Law” ไว้ 2 รูปแบบ คือ 1. “Rule of Law” ในฐานะ rule of reason ( ซึ่งแนวความคิดนี้สอดคล้องกับของ Aristotle ) และ 2.# “Rule of Law” ในฐานะที่ “Rule of Law” เป็นเครื่องมือที่จำกัดและป้องกันตัวแทนของรัฐบาลกดขี่คนส่วนใหญ่ของสังคม (ซึ่งแนวคิดนี้สอดคล้องกับของ Monterquieu)
2. “Rule of Law” ในแนวความคิดของยุคกลางและยุคก่อน Modren นักคิดเหล่านี้ได้แก่ Braton, Aquinas, Marsilius,Seyssel และ Hooker งานของนักคิดในยุคกลางนี้ส่วนใหญ่จะอยู่ในบริบทความคิดเรื่องกษัตริย์ ประเด็นจึงอยู่ที่การจำกัดอำนาจทางการเมืองบนความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับกษัตริย์ นักคิดในสมัยกลางบางคนได้ถกเถียงถึงความเป็นไปได้ระหว่างอำนาจของกฎหมาย และอำนาจทางการเมือง โดยมีประเด็นว่ากษัตริย์จำเป็นต้องอยู่ภายใต้กฎหมายที่เขาสร้างเองหรือไม่ ซึ่งตัวอย่างสำคัญก็ได้แก่ความคิดที่เกิดขึ้นในอังกฤษในปี 1215 ซึ่งพวกขุนนางสำคัญของอังกฤษได้บังคับให้กษัตริย์ John อยู่ภายใต้กฎของ Magna Carta และบังคับให้กษัตริย์รับรองสิทธิของผู้ถูกปกครอง และมีเจตนาที่จะปกป้องพวกเขา
==ประเภทของ “Rule of Law”==
3. “Rule of Law” ในศตวรรษที่ 18 และต้นศตวรรษที่ 19 ในฝรั่งเศลและเยอรมัน ซึ่งเป็นแนวความคิดชอง Montesquieu และหลัก Rechsstaat ในส่วนของ Montesquieu นั้นแม้ว่าเขาจะใช้บางแง่มุมเกี่ยวกับแนวความคิดสำนักกฎหมายธรรมชาติ แต่เขาก็ได้เน้นไปที่คุณลักษณะของระบบ Positive Law ก็คือ ระบบกฎหมายโดยทั่วไปแล้วก็คือเหตุผลของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นกฎในทางการเมืองหรือกฎหมายสำหรับประชาชนสำหรับแต่ละประเทศควรจะเป็นส่วนสำคัญของการนำไปใช้ได้กับเหตุผลของมนุษย์ โดยเขาเริ่มต้นที่ความสัมพันธ์ระหว่างระดับของกฎหมายกับรูปแบบของรัฐบาล โดยรัฐบาลที่เป็นเสรีนิยมนั้นไม่มีผู้ใดจะได้รับการลงโทษโดยที่ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ ซึ่งจะเป็นการช่วยรักษาความมั่นคงปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ระบบตรวจสอบของรัฐธรรมนูญ หรือเป็นการลดความเสี่ยงต่อการใช้อำนาจที่ผิดในทางการเมือง ดังนั้นความหมายของ “Rule of Law” ในความคิดของ Montesquieu แล้ว หมายถึงการที่กฎหมายได้รับการสนับสนุนจากความคิดของสาธารณชนและสิ่งอื่นที่มิใช่กฎหมายซึ่งจะจำกัดอำนาจเพื่อให้แน่ใจว่าการกระทำของรัฐบาลมีเหตุผลเพียงพอและสอดคล้องกับหลักกฎหมาย ส่วนในความคิดเรื่อง “Rechsstaat” หรือ State of Law เป็นแนวคิดที่พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้นก็มีพื้นฐานที่เชื่อว่ากฎหมายนั้นควรจะนำไปบังคับใช้อย่างเท่าเทียมกันสำหรับทุกคน
John morrow ได้แบ่งประเภทของ “Rule of Law” ตามเวลาใน[[ประวัติศาสตร์]] ไว้ดังนี้คือ.-
Andrew Heywood ได้กล่าวว่า ในความรู้สึกโดยทั่วไป กฎหมายก่อให้เกิดชุดของคำสั่ง หรือที่เรียกกันว่าคำสั่งห้ามและขนานนามกฎหมายให้ อย่างไรก็ตาม อะไรคือความแตกต่างระหว่างกฎหมาย กับกฎอันอื่นของสังคม ประการแรก กฎหมายเป็นสิ่งที่ทำโดยรัฐบาลและนำไปใช้ทั่วทั้งสังคม ในกรณีนี้ กฎหมายแสดงให้เห็นถึง “เจตนารมณ์ของรัฐ”( Will os State) และดังนั้นกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่อยู่เหนือบรรทัดฐานอื่นในสังคมและกฎอื่นในสังคม ตัวอย่างเช่น ประการที่สอง กฎหมายนั้นมีลักษณะเป็นข้อบังคับ ประชาชนไม่มีสิทธิเลือกที่จะเชื่อฟังหรือไม่เชื่อฟังกฎหมาย เพราะกฎหมายมีข้อบังคับและโทษสนับสนุนอยู่ ประการที่สาม กฎหมายมีลักษณะเป็นเรื่องของสาธารณะ กฎหมายนั้นต้องประกาศให้ประชาชนรับทราบและรับรู้โดยทั่วไป
1.# “Rule of Law” ในแนวความคิดทางการเมืองโบราณของ Plato และ Aristotle ในงานของ Plato “The Law” ชี้ว่ากฎหมายมีส่วนรักษาไว้ซึ่งระบบการเมืองใด ๆ และ[[ระบบกฎหมาย]]ควรเป็นเครื่องกำกับ ไม่ใช่เรื่องของการสงครามหรือการบรรลุถึงซึ่งความดีสูงสุด แต่เป็นเครื่องป้องกันผลประโยชน์ในการสร้างระบบทางการเมือง กฎหมายนั้นเป็นส่วนชดเชยต่อผู้ปกครองที่เป็น[[นักปราชญ์]] (philosophical rulers) ผู้ซึ่งมีปัญญาและมีคุณธรรมซึ่งจะทำให้เป็นการรับรองว่าผู้ปกครองจะกระทำการเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของคนส่วนรวมทั้งหมด ในส่วนของ Aristotle นั้นมองว่าหลัก “Rule of Law” นั้นเป็นส่วนหนึ่งของการปกครองของบุคคลคนเดียว เช่นเดียวกับที่ Plato เขียนไว้ใน “The Law” และ Aristotle นั้นเน้นไปที่[[กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ]](Unwritten custom) แต่ Aristotle ไม่ได้อธิบายว่าทำไมเขาจึงเน้นไปที่กฎหมายดังกล่าว อาจจะเป็นเพราะว่าเขาเห็นชอบด้วยกับหลักกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) ซึ่งมีความสอดคล้องกัน
2.# "Rule of Law” ในแนวความคิดของ[[ยุคกลาง]]และยุคก่อน Modren นักคิดเหล่านี้ได้แก่ Braton, Aquinas, Marsilius,Seyssel และ Hooker งานของนักคิดในยุคกลางนี้ส่วนใหญ่จะอยู่ในบริบทความคิดเรื่องกษัตริย์ ประเด็นจึงอยู่ที่การจำกัดอำนาจทางการเมืองบนความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับกษัตริย์ นักคิดในสมัยกลางบางคนได้ถกเถียงถึงความเป็นไปได้ระหว่างอำนาจของกฎหมาย และอำนาจทางการเมือง โดยมีประเด็นว่ากษัตริย์จำเป็นต้องอยู่ภายใต้กฎหมายที่เขาสร้างเองหรือไม่ ซึ่งตัวอย่างสำคัญก็ได้แก่ความคิดที่เกิดขึ้นในอังกฤษในปี 1215 ซึ่งพวกขุนนางสำคัญของอังกฤษได้บังคับให้กษัตริย์ John อยู่ภายใต้กฎของ Magna Carta และบังคับให้กษัตริย์รับรองสิทธิของผู้ถูกปกครอง และมีเจตนาที่จะปกป้องพวกเขา
3.# “Rule of Law” ในศตวรรษที่ 18 และต้นศตวรรษที่ 19 ในฝรั่งเศลและเศลและ[[เยอรมัน]] ซึ่งเป็นแนวความคิดชอง Montesquieu และหลัก Rechsstaat ในส่วนของ Montesquieu นั้นแม้ว่าเขาจะใช้บางแง่มุมเกี่ยวกับแนวความคิดสำนักกฎหมายธรรมชาติ แต่เขาก็ได้เน้นไปที่คุณลักษณะของระบบ Positive Law ก็คือ ระบบกฎหมายโดยทั่วไปแล้วก็คือเหตุผลของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นกฎในทางการเมืองหรือกฎหมายสำหรับประชาชนสำหรับแต่ละประเทศ ควรจะเป็นส่วนสำคัญของการนำไปใช้ได้กับเหตุผลของมนุษย์ โดยเขาเริ่มต้นที่ความสัมพันธ์ระหว่างระดับของกฎหมายกับรูปแบบของรัฐบาล โดยรัฐบาลที่เป็น[[เสรีนิยม]]นั้นไม่มีผู้ใดจะได้รับการลงโทษโดยที่ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ ซึ่งจะเป็นการช่วยรักษาความมั่นคงปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ระบบตรวจสอบของรัฐธรรมนูญ หรือเป็นการลดความเสี่ยงต่อการใช้อำนาจที่ผิดในทางการเมือง ดังนั้นความหมายของ “Rule of Law” ในความคิดของ Montesquieu แล้ว หมายถึงการที่กฎหมายได้รับการสนับสนุนจากความคิดของสาธารณชนและสิ่งอื่นที่มิใช่กฎหมายซึ่งจะจำกัดอำนาจเพื่อให้แน่ใจว่าการกระทำของรัฐบาลมีเหตุผลเพียงพอและสอดคล้องกับหลักกฎหมาย ส่วนในความคิดเรื่อง “Rechsstaat” หรือ State of Law เป็นแนวคิดที่พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้นก็มีพื้นฐานที่เชื่อว่ากฎหมายนั้นควรจะนำไปบังคับใช้อย่างเท่าเทียมกันสำหรับทุกคน
 
Andrew Heywood ได้กล่าวว่า ในความรู้สึกโดยทั่วไป กฎหมายก่อให้เกิดชุดของคำสั่ง หรือที่เรียกกันว่าคำสั่งห้ามและขนานนามกฎหมายให้ อย่างไรก็ตาม อะไรคือความแตกต่างระหว่างกฎหมาย กับกฎอันอื่นของสังคม ประการแรก กฎหมายเป็นสิ่งที่ทำโดยรัฐบาลและนำไปใช้ทั่วทั้งสังคม ในกรณีนี้ กฎหมายแสดงให้เห็นถึง “[[เจตนารมณ์ของรัฐ”รัฐ]]”( Will os State) และดังนั้นกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่อยู่เหนือบรรทัดฐานอื่นในสังคมและกฎอื่นในสังคม ตัวอย่างเช่น ประการที่สอง กฎหมายนั้นมีลักษณะเป็นข้อบังคับ ประชาชนไม่มีสิทธิเลือกที่จะเชื่อฟังหรือไม่เชื่อฟังกฎหมาย เพราะกฎหมายมีข้อบังคับและโทษสนับสนุนอยู่ ประการที่สาม กฎหมายมีลักษณะเป็นเรื่องของสาธารณะ กฎหมายนั้นต้องประกาศให้ประชาชนรับทราบและรับรู้โดยทั่วไป
==ทฤษฎี==
ศ.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ได้ให้คำอธิบายในเรื่องนี้ไว้ พอสรุปได้ความว่า ตามแนวความคิดเสรีนิยมประชาธิปไตยนั้น ถือว่าแม้รัฐจะมีอำนาจอธิปไตย แต่รัฐก็ต้องเคารพกฎหมายก่อน ซึ่งมีอยู่ 2 ทฤษฎีหลักๆ คือ.
(1) # ทฤษฎีว่าด้วยการจำกัดอำนาจของตนเองด้วยความสมัครใจ ( auto – limitation) ซึ่งเยียริ่ง (Ihering) และ (Jelinek) เป็นผู้เสนอ ซึ่งมีหลักว่ารัฐไม่อาจถูกจำกัดอำนาจโดยกฎหมายได้ เว้นแต่รับจะสมัครใจผูกมัดตนเองด้วยกฎหมายที่ตนสร้างขึ้น และกฎหมายหลักที่รัฐสร้างขึ้นก็คือรัฐธรรมนูญ ซึ่งกำหนดสถานะของอำนาจการเมืองในรัฐว่าอยู่ที่องค์กรใด ต้องใช้อย่างไร มีข้อจำกัดอย่างไร
(2) # ทฤษฎีนิติรัฐ (Etat de Droit) ซึ่งรุสโซ และมองเตสกิเออ ได้เสนอแนวความคิดไว้เป็นคนแรก ๆ และ กาเร เดอ มัลแบร์ ได้สรุปแนวความคิดไว้อย่างชัดแจ้ง ซึ่งพอสรุปได้ว่า “รัฐและหน่วยงานของรัฐทำการเพื่อประโยชน์สาธารณะและอยู่ในฐานะที่เหนือกว่าเอกชน มีอำนาจก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิหน้าที่แก่เอกชนฝ่ายเดียวโดยปัจเจกชนไม่สมัครใจได้ กฎหมายมหาชนให้อำนาจรัฐหรือหน่วยงานของรัฐดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะได้ในฐานะที่เหนือกว่าเอกชน แต่กฎหมายนั้นเองก็จำกัดอำนาจรัฐหรือหน่วยงานของรัฐไม่ให้ใช้อำนาจนอกกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้”
 
ศ.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ได้ให้คำอธิบายในเรื่องนี้ไว้ พอสรุปได้ความว่า ตามแนวความคิดเสรีนิยมประชาธิปไตยนั้น ถือว่าแม้รัฐจะมีอำนาจอธิปไตย แต่รัฐก็ต้องเคารพกฎหมายก่อน ซึ่งมีอยู่ 2 ทฤษฎีหลักๆ คือ.
(1) ทฤษฎีว่าด้วยการจำกัดอำนาจของตนเองด้วยความสมัครใจ ( auto – limitation) ซึ่งเยียริ่ง (Ihering) และ (Jelinek) เป็นผู้เสนอ ซึ่งมีหลักว่ารัฐไม่อาจถูกจำกัดอำนาจโดยกฎหมายได้ เว้นแต่รับจะสมัครใจผูกมัดตนเองด้วยกฎหมายที่ตนสร้างขึ้น และกฎหมายหลักที่รัฐสร้างขึ้นก็คือรัฐธรรมนูญ ซึ่งกำหนดสถานะของอำนาจการเมืองในรัฐว่าอยู่ที่องค์กรใด ต้องใช้อย่างไร มีข้อจำกัดอย่างไร
(2) ทฤษฎีนิติรัฐ (Etat de Droit) ซึ่งรุสโซ และมองเตสกิเออ ได้เสนอแนวความคิดไว้เป็นคนแรก ๆ และ กาเร เดอ มัลแบร์ ได้สรุปแนวความคิดไว้อย่างชัดแจ้ง ซึ่งพอสรุปได้ว่า “รัฐและหน่วยงานของรัฐทำการเพื่อประโยชน์สาธารณะและอยู่ในฐานะที่เหนือกว่าเอกชน มีอำนาจก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิหน้าที่แก่เอกชนฝ่ายเดียวโดยปัจเจกชนไม่สมัครใจได้ กฎหมายมหาชนให้อำนาจรัฐหรือหน่วยงานของรัฐดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะได้ในฐานะที่เหนือกว่าเอกชน แต่กฎหมายนั้นเองก็จำกัดอำนาจรัฐหรือหน่วยงานของรัฐไม่ให้ใช้อำนาจนอกกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้”
ผลที่ตามมาก็คือ จะต้องมีการควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐทุกองค์การให้ชอบด้วยกฎหมาย กล่าวคือ จะต้องควบคุมการกระทำและนิติกรรมทางการปกครองของฝ่ายปกครองให้ชอบด้วยกฎหมาย และจะต้องมีการควบคุมการกระทำขององค์กรตุลาการ ซึ่งได้แก่คำพิพากษาและคำสั่งของศาลให้ชอบด้วยกฎหมาย โดยจะต้องมีองค์กรและกระบวนการควบคุมที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละระบบกฎหมาย
==แนวความคิดของหลักนิติรัฐ==
รองศาสตราจารย์ ดร.วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ให้คำอธิบายแนวความคิดและแนวความคิดของหลักนิติรัฐ ไว้ดังนี้
 
[[รัฐเสรีประชาธิปไตย]]ยอมรับรองและให้ความคุ้มครอง[[สิทธิเสรีภาพขั้นมูลฐาน]]ของราษฎรไว้ในรัฐธรรมนูญโดยอาจจำแนกสิทธิและเสรีภาพดังกล่าวได้เป็น 3 ประเภท คือ.-
(1) # [[สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล]]โดยแท้ อันได้แก่ สิทธิเสรีภาพในชีวิตร่างกาย สิทธิเสรีภาพในเคหสถาน สิทธิเสรีภาพในการติดต่อสื่อสารถึงกันและกัน สิทธิเสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ และสิทธิเสรีภาพในครอบครัว
(2) # [[สิทธิเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ]] อันได้แก่ สิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ สิทธิเสรีภาพในการมีและใช้ทรัพย์สิน และสิทธิเสรีภาพในการทำสัญญา
(3) # สิทธิและเสรีภาพใน[[การมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง]] อันได้แก่ สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง สิทธิเสรีภาพในการรวมตัวกันเป็นสมาคมหรือ[[พรรคการเมือง]] และสิทธิเสรีภาพในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้ง
 
==แนวความคิด ==
รัฐเสรีประชาธิปไตยยอมรับรองและให้ความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นมูลฐานของราษฎรไว้ในรัฐธรรมนูญโดยอาจจำแนกสิทธิและเสรีภาพดังกล่าวได้เป็น 3 ประเภท คือ.-
(1) สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลโดยแท้ อันได้แก่ สิทธิเสรีภาพในชีวิตร่างกาย สิทธิเสรีภาพในเคหสถาน สิทธิเสรีภาพในการติดต่อสื่อสารถึงกันและกัน สิทธิเสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ และสิทธิเสรีภาพในครอบครัว
(2) สิทธิเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ อันได้แก่ สิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ สิทธิเสรีภาพในการมีและใช้ทรัพย์สิน และสิทธิเสรีภาพในการทำสัญญา
(3) สิทธิและเสรีภาพในการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง อันได้แก่ สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง สิทธิเสรีภาพในการรวมตัวกันเป็นสมาคมหรือพรรคการเมือง และสิทธิเสรีภาพในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้ง
อย่างไรก็ดี รัฐจะต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สาธารณะ ซึ่งในบางกรณีรัฐจำต้องบังคับให้ราษฎรกระทำการหรือละเว้นไม่กระทำการบางอย่าง โดยองค์กรหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐสามารถล่วงล้ำเข้าไปในแดนสิทธิเสรีภาพของราษฎรได้ แต่รัฐให้คำมั่นต่อราษฎรว่าองค์กรเจ้าหน้าที่ของรัฐจะกล้ำกรายสิทธิเสรีภาพของราษฎรได้ ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งและเป็นการทั่วไปว่าให้องค์กรหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกล้ำกรายสิทธิเสรีภาพของราษฎรได้ในกรณีใดและภายในขอบเขตอย่างไร
 
==สาระสำคัญ ==
สาระสำคัญของหลักนิติรัฐมีอยู่ 3 ประการดังนี้
(1) # บรรดาการกระทำทั้งหลายขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารจะต้องชอบด้วยกฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ กล่าวคือ องค์กรของรัฐ[[ฝ่ายบริหาร]]จะต้องมีอำนาจสั่งการให้ราษฎรกระทำการหรือละเว้นไม่กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดได้ ต่อเมื่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายให้อำนาจไว้อย่างชัดแจ้งและจะต้องใช้อำนาจนั้นภายในกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้
(2) # บรรดากฎหมายทั้งหลายที่องค์กรของรัฐ [[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]ได้ตราขึ้นจะต้องชอบด้วยรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่ให้อำนาจแก่องค์กรของรัฐฝ่ายบริหารล่วงล้ำเข้าไปในแดนแห่งสิทธิและเสรีภาพของราษฎรนั้นจะต้องมีข้อความระบุไว้อย่างชัดเจนพอสมควรว่าให้องค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร องค์กรใดมีอำนาจล่วงล้ำเข้าไปในแดนแห่งสิทธิเสรีภาพของราษฎรได้ในกรณีใดและภายในขอบเขตอย่างไร และกฎหมายดังกล่าวจะต้องไม่ให้อำนาจแก่องค์กรของรัฐฝ่ายบริหารล่วงล้ำเข้าไปในแดนแห่งสิทธิเสรีภาพของราษฎรเกินขอบเขตแห่งความจำเป็นเพื่อธำรงรักษาผลประโยชน์สาธารณะ
(3) # การควบคุมไม่ให้กระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารขัดต่อกฎหมายก็ดี การควบคุมไม่ให้รัฐธรรมนูญขัดกับกฎหมายก็ดี จะต้องเป็นอำนาจหน้าที่ขององค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการซึ่งมีความเป็นอิสระจากองค์กรของรัฐฝ่ายบริหารและองค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ โดยองค์กรรัฐฝ่ายตุลาการซึ่งทำหน้าที่ควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหรือองค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการซึ่งทำหน้าที่ควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร อาจจะเป็นองค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการอีกองค์กรหนึ่ง แยกต่างหากจากองค์กรของรัฐ[[ฝ่ายตุลาการ]]ซึ่งทำหน้าที่พิจารณาพิพากษา[[คดีแพ่ง]]และ[[คดีอาญา]]ก็ได้
 
[[Category:กฎหมาย]]