ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิทธิโดยสายโลหิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
โดยสายโลหิต ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น สิทธิโดยสายโลหิต: ชัดเจนกว่า
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สิทธิโดยสายโลหิต'''<ref>คำนิยาม "สิทธิโดยสายโลหิต" จาก ''"หนังสืออธิบายศัพท์การทูตและการเมืองระหว่างประเทศ ฯพณฯเอกอัครราชทูต กลศ วิเศษสุรการ"'' [http://www.mfa.go.th/web/856.php?code=j]</ref> ({{lang-en|Jus sanguinis}}) เป็นสำนวน[[ภาษาลาติน]]ที่หมายความว่า "right of blood" หรือ "สิทธิโดยสายโลหิต" เป็นนโยบายทางสังคมที่ "สิทธิของการเป็นพลเมือง" เป็นสิทธิที่[[เชื้อชาติ]] หรือ [[สัญชาติ]]มิได้ระบุโดยดินแดนที่กำเนิด แต่โดยการที่มีบรรพบุรุษผู้ที่ถือสัญชาติหรือเป็นพลเมืองของประเทศที่ว่า ซึ่งตรงกันข้ามกับ “[[สิทธิโดยแผ่นดิน]]” (Jus soli)
 
เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 การถกเถียงระหว่างฝรั่งเศส-เยอรมันเรื่องสัญชาตินำไปสู้การต่อต้านนโยบายของเยอรมันโดย[[เอิร์นเนสต์ เรนอง]] ในปรัชญาที่เรียกว่า "objective nationality" ที่ใช้สายเลือด, ชาติพันธุ์ (Race) หรือภาษาเป็นเครื่องวัดสัญชาติ ขณะที่ฝรั่งเศสใช้กฎ “สิทธิโดยแผ่นดิน” เป็นเครื่องวัด ที่ถือว่าสิทธิของ[[เชื้อชาติ]] หรือ [[สัญชาติ]]เป็นสิ่งที่เป็นของบุคคลในดินแดนที่เกิด ในปัจจุบันชาติหลายชาติใช้ปรัชญาผสมระหว่าง “สิทธิโดยแผ่นดิน” และ “สิทธิโดยสายโลหิต” ในการพิจารณาการให้สัญชาติที่รวมทั้ง[[สหรัฐอเมริกา]], [[แคนาดา]], [[อิสราเอล]], [[เยอรมนี]] (เมื่อไม่นานมานี้), [[กรีซ]], [[ไอร์แลนด์]] และอื่นๆ