ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิงโตในมุทราศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "สิงห์โต" → "สิงโต" ด้วยสจห.
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{| style="float: right;"
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=สิงโต |เปลี่ยนทาง=}}
|-
| {{ใช้ภาษาอังกฤษ|width=300px}}<br clear="right" />
{| class="wikitable" align="right"
|-
! [[Image:Lev vyskakujici.svg|thumb|center|120px|สิงโตครึ่งตัว<br>บน[[เครื่องยอด (อิสริยาภรณ์)|เครื่องยอด]]]]
!| [[Imageไฟล์:BlasonLev deGinestouxvyskakujici.svg|thumb|center|120px|สิงโตที่ใช้เป็นครึ่งตัว<br>บน[[เครื่องหมายเครื่องยอด (อิสริยาภรณ์)|เครื่องหมายเครื่องยอด]]หลัก]]
|-
| [[ไฟล์:Blason deGinestoux.svg|thumb|center|120px|สิงโตที่ใช้เป็น<br>[[เครื่องหมาย (อิสริยาภรณ์)|เครื่องหมาย]]หลัก]]
|}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=สิงโต |เปลี่ยนทาง=}}
'''[[สิงโต]]''' ({{lang-en|Lion}}) เป็นสัตว์ที่นิยมใช้เป็น[[เครื่องหมาย (อิสริยาภรณ์)|เครื่องหมาย]]กันใน[[ตราอาร์ม]]กันมากที่สุดเครื่องหมายหนึ่ง เพราะเป็นสัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ของความกล้าหาญ การรักษาเกียรติยศ ความแข็งแกร่ง และ ความเป็นสัตว์ที่ถือกันว่าสูงศักดิ์ ที่เดิมถือกันว่าเป็นราชาแห่งสัตว์ทั้งปวง
 
== ลักษณะการวางท่า ==
[[ลักษณะการวางท่า (อิสริยาภรณ์)|ลักษณะการวางท่า]]ของสิงโตก็มีด้วยกันหลากหลายเพราะความพยายามที่จะสร้างความแตกต่างระหว่าง[[ตราอาร์ม|ตรา]]หรือ[[ธง]] แต่ใน[[ยุคกลาง]]ลักษณะการวางท่าของสิงโตมีอยู่เพียงไม่กี่ท่าที่ใช้กัน<ref name=Fox-Davies172>Fox-Davies (1909), p. 172.</ref> สิ่งที่มักจะสร้างถกเถียงกัน (โดยเฉพาะในตราอาร์มของฝรั่งเศส) คือความแตกต่างระหว่างสิงโตในท่าเดินว่าเป็น “[[เสือดาว]]” หรือไม่<ref name=Fox-Davies172 /> ลักษณะการวางท่าหลักของสิงโตในตราอาร์มก็ได้แก่:
 
เส้น 16 ⟶ 19:
|-
|“Rampant”<br>“ยืนผงาด”
| [[Fileไฟล์:Lion Rampant.svg|100px100px]]
| “ยืนผงาด” เป็นท่าที่พบบ่อยที่สุด เป็นท่ายืนตรงหันข้างยกขาหน้า<ref>Fox-Davies (1909), p. 176.</ref> ตำแหน่งของขาหลังของท่านี้ก็แตกต่างกันออกไป บางท่าก็จะยืนกางขาบนสองเท้าหลัง หรือยืนบนขาเดียว อีกขาหนึ่งยกขึ้นพร้อมที่จะตะปบ คำว่า “rampant” มักจะไม่ใช้ โดยเฉพาะใน[[นิยามของตรา]]ในสมัยต้นๆ เพราะเป็นท่าที่ใช้กันเป็นปกติ<br>
ข้อสังเกต: บางครั้งท่านี้ก็เรียกว่า “segreant” แต่เป็นท่าเดียวกับที่ใช้สำหรับ[[กริฟฟิน]]และ[[มังกร]]<ref>{{Cite web
เส้น 26 ⟶ 29:
|-
|“Passant”<br>“ยืนยกเท้าหน้า”<br>“ยุรยาตรยกเท้าหน้า”
| [[Fileไฟล์:Lion Passant.svg|100px100px]]
| “ยืนยกเท้าหน้า” เป็นท่ายืนขณะที่ยกอุ้งเท้าหน้า สามขายืนบนดิน<ref name = Fox-Davies181>Fox-Davies (1909), p. 181.</ref> “สิงโตของอังกฤษ” เป็นสิงโตที่มีคำนิยามว่า “สิงห์ยืนยกเท้าหน้า[[สีทอง (อิสริยาภรณ์)|สีทอง]]” (lion passant guardant Or) ที่เป็น[[สัญลักษณ์เพิ่มเติมเกียรติยศ|สัญลักษณ์ที่มาเพิ่มเติมเพื่อเกียรติยศ]] (Augmentation of honour) <ref name=Fox-Davies181 /><br>
ข้อสังเกต: สิงโตที่ใช้ท่านี้อาจจะเรียกว่า “[[เสือดาว]]” (ดูคำอธิบายข้างล่าง)
|-
|“Statant”<br>“ยืน” / “ยุรยาตร”
| [[Fileไฟล์:Lion Statant.svg|100px100px]]
| “ยืน” เป็นท่าที่ทั้งสี่เท้าอยู่บนพื้น และขาหน้ามักจะชิดกัน<ref>Fox-Davies (1909), p. 182.</ref> ท่านี้เป็นท่านิยมใช้สำหรับบน[[เครื่องยอด (อิสริยาภรณ์)|เครื่องยอด]]มากกว่าที่จะท่าที่ใช้เป็นตราบน[[โล่ภายในตรา|โล่]]หลัก<ref name=Fox-Davies183>Fox-Davies (1909), p. 183.</ref>
|-
|“Salient”<br>“กระโจน”
| [[Fileไฟล์:Lion Salient.svg|100px100px]]
| “กระโจน” เป็นท่าที่ยืนบนขาหลังสองขาชิดกัน และสองขาหน้ายกขึ้นพร้อมกันในท่าพร้อมที่จะกระโจน<ref name = Fox-Davies183 /> ท่านี้หาดูได้ยากสำหรับการใช้กับสิงโต<ref name=Fox-Davies183 /> แต่เป็นท่าที่ใช้ได้กับสัตว์อื่นๆ บนตราได้
|-
|“Sejant”<br>“นั่ง”
| [[Fileไฟล์:Lion Sejant.svg|100px100px]]
| “นั่ง” เป็นท่านั่งคร่อมที่ขาหน้าทั้งสองขาอยู่บนพื้น<ref name = Fox-Davies184>Fox-Davies (1909), p. 184.</ref>
|-
|“Sejant erect”<br>“นั่งยกเท้าหน้า”
| [[Fileไฟล์:Lion Sejant Erect.svg|100px100px]]
| “นั่งยกเท้าหน้า” เป็นท่านั่งแต่หลังตรง และขาหน้าทั้งสองยกขึ้นในท่าเดียวกับท่ายกขาหน้าของท่า “Rampant” ที่บางครั้งทำให้เรียกท่านี้ว่า “Sejant-rampant”<ref name = Fox-Davies184 />
|-
|“Couchant”<br>“นอนสง่า”
| [[Fileไฟล์:Lion Couchant.svg|100px100px]]
| “นอนสง่า” เป็นท่านอนแต่ยกหัว<ref name = Fox-Davies185>Fox-Davies (1909), p. 185.</ref>
|-
|“Dormant”<br>“หลับ”
| [[Fileไฟล์:Lion Dormant.svg|100px100px]]
| “หลับ” เป็นท่านอนก้มหัวหนุนอุ้งเท้าหน้าและปิดตาเหมือนหลับ<ref name = Fox-Davies185 />
|}
ลักษณะการวางท่าอื่นนอกจากนี้ก็ยังเป็นการและบรรยายอย่างละเอียด สิ่งที่น่าสังเกตคือตราอาร์มจะมีด้านซ้าย และ ขวา (''dexter'' และ ''sinister'') ของผู้ถือโล่ - ฉะนั้นเมื่อวาดเป็นรูปด้านซ้ายของโล่จึงเรียกว่าด้านขวา (sinister) เพราะเป็นด้านขวาของผู้ถือโล่ และ ด้านขวาของโล่จึงเรียกว่าด้านซ้าย (dexter) เพราะเป็นด้านซ้ายของผู้ถือโล่ (ซึ่งตรงกันข้ามกับความหมายของคำ เพราะตามปกติแล้วคำว่า “dexter” แปลว่า “ขวา” และ คำว่า “sinister” แปลว่า “ซ้าย”) หัวสิงห์โดยทั่วไปแล้วจะบรรยายว่าหันหน้าไปทางขวา ซึ่งเมื่อวาดเป็นรูปจึงหันไปทางซ้ายของผู้ดูโล่ นอกจากจะระบุเป็นอื่น ถ้าร่างทั้งร่างของสิงห์หันไปทางขวา ก็เท่ากับหันไปทางซ้าย (to sinister) หรือ “contourné” ถ้าร่างทั้งร่างของสิงห์หันมาหน้ามาทางผู้ดูก็จะเรียกว่า “ประจันหน้า” (affronté) ถ้าหันแต่หัวมาทางผู้ดูก็จะเรียกว่า “หันหน้า” (guardant หรือ gardant) ถ้าหันข้ามไหล่ไปทางด้านหลักก็จักเรียกว่า “เอี้ยวคอ” (regardant)
เส้น 59 ⟶ 62:
 
<center><gallery>
Fileไฟล์:Lion Rampant Guardant.svg|สิงห์หันหน้า<br> (Lion guardant)
Fileไฟล์:Lion Rampant Regaurdant.svg|สิงห์เอี้ยวคอ<br> (Lion regardant)
Fileไฟล์:Lion Coward.svg|สิงห์ขลาด<br> (Lion coward)
</gallery></center>
 
<center><gallery>
Fileไฟล์:Lion Rampant queue fourche.svg|สิงห์หางแฉก<br> (Lion with forked tail)
Fileไฟล์:Lion Rampant queue saltire.svg|สิงห์หางไขว้<br> (Lion with Crossed tail)
Fileไฟล์:Lion Rampant queue saltire (reverse).svg|สิงห์หางบิด<br> (Lion with Crossed tail (reverse))
Fileไฟล์:Lion Rampant tail nowed.svg|สิงห์หางปม<br> (Lion with tail nowed)
</gallery></center>
 
== สิงโต หรือ เสือดาว ==
[[Fileไฟล์:Lion Passant Guardant.svg|thumb|160px|right|สิงห์ยืนยกเท้าหน้า: สิงโต หรือ เสือดาว]]
สิงโตในตราอาร์มของเวลส์และอังกฤษใช้[[ลักษณะการวางท่า (อิสริยาภรณ์)|ลักษณะการวางท่า]]ที่เรียกว่า “สิงห์ยืนยกเท้าหน้าหันหน้า” (“passant gardant”) การระบุว่าเป็นสัตว์ชนิดใดเป็นเรื่องที่มีการโต้เถียงกันเป็นอย่างมาก บ้างก็ว่าท่านี้เป็นท่าของ[[เสือดาว]]ไม่ใช่สิงโต แต่สัตว์ที่ปรากฏบนตรามีขนหัวอย่างสิงโตตัวผู้ โดยทั่วไปแล้วก็จะเรียกว่าสิงโต
 
== การใช้สิงโตเป็นสัญลักษณ์ ==
[[Imageไฟล์:Lascaux-diverticule-félins.jpg|thumb|left|200px|ภาพวาดสิงห์ในถ้ำ[[ลาส์โกซ์]]ในประวัติศาสตร์]]
[[Imageไฟล์:1516 Vittore Carpacci, The Lion of St Mark (detail) Tempera on canvas, Palazzo Ducale, Venice.jpg|thumb|left|200px|สิงโตมีปีกที่เป็นสัญลักษณ์ของ[[นักบุญมาร์ค]]ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ประจำเมือง[[เวนิส]] (รายละเอียดของภาพเขียนโดย[[วิตโตเร คาร์พัชชิโอ]], ค.ศ. 1516)]]
สิงโตเป็นสัตว์ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์มาตั้งแต่[[สมัยหิน]] นักล่าสัตว์ในระหว่างยุคน้ำแข็งของ[[อารยธรรมออริยาเชียน]] (Aurignacian) ใช้สิงโตเป็นสัญลักษณ์มากว่า 30,000 ปีโดยแสดงภาพสิงโตตัวเมียล่าสัตว์ที่มีท่าทางผยองที่ไม่ต่างไปจากสิงโตร่วมสมัย หลังจากนั้นก็มีการใช้สิงโตตัวเมียเป็นส่วนใหญ่ในการเป็นสัญลักษณ์ของการพิทักษ์และผู้นำทางการสงคราม
 
ภาพเขียนในที่เก็บศพที่[[นาคาดา]] (Naqada) ในอียิปต์เป็นภาพที่เขียนก่อนที่อารยธรรมของอียิปต์จะเริ่มขึ้นในแอฟริกาเหนือเป็นภาพของสิงโตสองตัวยืนทำท่าพิทักษ์ที่เชื่อกันว่าเป็นเทพสำหรับสักการะ
[[Imageไฟล์:Hatshepsut-SmallSphinx MetropolitanMuseum.png|thumb|สฟิงซ์[[ฟาโรห์หญิงฮัตเชปซุต|ฟาโรห์ฮัตเชปซุต]]ของอียิปต์ที่มีลักษณะที่แปลกที่มีหูกลมปรากฏบนประติมากรรมที่สร้างราวระหว่างปี 1503 ถึง 1482 ก่อนคริสต์ศักราช]]
สิงโตมีบทบาทในหลายวัฒนธรรมโบราณหลายวัฒนธรรมต่อมา ใน[[อียิปต์โบราณ]] บางครั้ง[[ฟาโรห์]]ก็จะใช้[[สฟิงซ์]]ซึ่งเป็นสิงโตตัวเมียที่มีหัวเป็นคนเป็นสัญลักษณ์ สฟิงซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดก็คือ[[มหาสฟิงซ์|มหาสฟิงซ์แห่งกิซา]] ตั้งแต่มนุษย์เริ่มมีการบันทึกก็เป็นที่ทราบกันว่าสิงโตเป็นสัตว์ล่าเหยื่อที่ดุร้ายที่สุดพันธุ์หนึ่งในวัฒนธรรมอียิปต์โบราณและแอฟริกา และมาเป็นสัญลักษณ์อันสำคัญที่สุดของวัฒนธรรมโบราณในฐานะผู้กล้าหาญ นักต่อสู้ และผู้พิทักษ์ของอาณาจักร ตำนานอียิปต์มีสิงโตที่ได้แก่บาสต์ และเซ็คห์เม็ดในบรรดาเทพชั้นสูงของอียิปต์ ประมุขที่เป็นชายมักจะกล่าวว่ามีความเกี่ยวข้องกับลูกของเทพีเช่นมาเฮส (Maahes) ขณะที่ผู้ปกครองอียิปต์ใน[[นูเบีย]] (Nubia) ก็ได้บันทึกถึงการสักการะ[[เดดุน]] (Dedun) ว่าเป็นเทพของความอุดมสมบูรณ์และความมั่งคั่ง ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นลูกชายของสิงโตนูเบีย แต่นูเบียมิได้รวมเทพไว้ในบรรดาเทพชั้นเอก
 
เส้น 90 ⟶ 93:
 
ในประวัติศาสตร์สมัยต่อมาการใช้สิงโตเป็นสัญลักษณ์ก็แพร่หลายมากขึ้นเพื่อแสดงความมีอำนาจเช่นในการตั้งชื่อเช่น[[เฮนรีเดอะไลออน|เฮนรีสิงห์]] ความนิยมการใช้สิงห์จะเห็นได้จากสิงห์ที่ปรากฏใน[[ตราอาร์ม]]ต่างๆ เป็นจำนวนมาก
== ตัวอย่างของสิงโตที่ใช้ในตรา ==
=== สิงห์ยืนผงาด ===
<center><gallery>
Image:Wappen Königreich Böhmen.png|[[ตราอาร์ม]]ของ[[ราชอาณาจักรโบฮีเมีย]]
เส้น 103 ⟶ 106:
</gallery></center>
 
=== สิงห์ยืนยกเท้าหน้า ===
<center><gallery>
Imageไฟล์:COA_of_Denmark.svg|[[ตราแผ่นดินของเดนมาร์ก]]
Imageไฟล์:England COA.svg|[[ตราแผ่นดินของอังกฤษ]]
Imageไฟล์:Small coat of arms of Estonia.svg|[[ตราแผ่นดินของเอสโตเนีย]]
Imageไฟล์:Coat_of_arms_of_Montenegro.svg|[[ตราแผ่นดินของมอนเตเนโกร]]
</gallery></center>
 
=== สิงห์นอน ===
<center><gallery>
Imageไฟล์:Rodoy komm.png|ตราอาร์มของ<br>Rødøy Municipality<br>นอร์เวย์
</gallery></center>
 
=== สิงห์ตะวันออก ===
<center><gallery>
Imageไฟล์:Emblem of India.svg|[[ตราแผ่นดินของอินเดีย]]
Imageไฟล์:Coat_of_arms_of_Sri_Lanka.svg|[[ตราแผ่นดินของศรีลังกา]]
Imageไฟล์:Flag of Tibet.svg|[[ธงชาติธิเบต]]
</gallery></center>