ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารเอเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PaePae (คุย | ส่วนร่วม)
ค.ศ. 1992 -> พ.ศ2535
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 6:
[[พ.ศ. 2541]] ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร แห่ง[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคารเอเชีย ในปี พ.ศ. 2545 [[ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร]]ได้รับการจัดอันดับเป็นที่ 8 ในยุโรป และที่ 17 ในโลก ในด้านความมั่นคงของเงินกองทุนขั้นที่หนึ่ง โดย มีกว่า 3,000 สาขาในกว่า 66 ประเทศ <ref>[http://www.positioningmag.com/brand_details.aspx?id=20164 ธนาคารเอเชีย] positioningmag.com</ref>
 
[[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2547]] ธนาคารเอบีเอ็ม แอมโร ได้ลงนามขายหุ้น 80.77% ซึ่งถืออยู่ในธนาคารเอเชีย ให้กับ ธนาคารยูโอบี ผู้ถือหุ้นหลักใน ธนาคารยูโอบีรัตนสิน เพื่อควบรวมกิจการ ธนาคารเอเชีย เข้ากับ ธนาคารยูโอบีรัตนสิน โดยใช้ธนาคารเอเชียเป็นแกนหลัก และเปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารยูโอบี <ref>[http://www.kimeng.co.th/research_info/download/040426/040426_boa_t.pdf ธนาคารเอเชีย] บล. กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) </ref>
 
== อ้างอิง ==
<references />
{{ธนาคารไทย}}