ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วีเอชเอฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ความเป็นมา: บีบีทีวี รับสัมปทานจาก ทบ.
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 17:
การใช้คลื่นความถี่ระบบวีเอชเอฟในประเทศไทย แบ่งเป็น ''การส่งวิทยุกระจายเสียง'' ด้วยระบบเอฟเอ็ม สเตอริโอ มัลติเพล็กซ์ ในช่วงความถี่ระหว่าง 87.5-108.0 เมกะเฮิร์ตซ์ และ ''การส่งวิทยุโทรทัศน์'' ในช่วงความถี่ระหว่างช่องสัญญาณที่ 2-12 รวมทั้งสิ้น 11 ช่อง ออกอากาศโดยใช้กำลังส่งภาพระหว่าง 30-300 กิโลวัตต์, กำลังส่งเสียงระหว่าง 1-10 กิโลวัตต์, ความถี่ภาพระหว่าง 40-250 เมกะเฮิร์ตซ์ และ ความถี่เสียงระหว่าง 40-260 เมกะเฮิร์ตซ์
 
=== ความเป็นมา ประวัติ ===
การส่งกระจายเสียงวิทยุในระบบเอฟเอ็มครั้งแรก ดำเนินการโดย''[[สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย]]'' สังกัด[[กรมประชาสัมพันธ์]]{{อ้างอิง}} เมื่อปี [[พ.ศ. 2484]]{{อ้างอิง}} ส่วนการแพร่ภาพวิทยุโทรทัศน์ในระบบวีเอชเอฟครั้งแรก ดำเนินการโดย''[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4]]'' ของ[[บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2498]] โดยออกอากาศทางช่อง 4 ระบบขาวดำ และการแพร่ภาพวิทยุโทรทัศน์สี ในระบบวีเอชเอฟครั้งแรก ดำเนินการโดย''[[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]]'' ซึ่ง[[บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด]] ได้รับสัมปทานจาก[[กองทัพบกไทย]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2510]] โดยออกอากาศทางช่อง 7 ในย่านความถี่ที่ 3