ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมิทัศน์วัฒนธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fr:Paysage culturel; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:050628-elbtal-vom-luisenhof.jpg|thumb|260px|right| [[มรดกโลก]] หุบเขาเดรสเดน อเลเบ [[เยอรมันนี]]ที่[[ยูเนสโก]]ถือว่าเป็น "ตัวอย่างที่ดีเด่นของการใช้ที่ดินทีเป็นตัวอย่างการพัฒนาเมืองของ[[ยุโรป]]กลาง" เป็นเมืองที่มีประชากรมากถึงครึ่งล้านคน]]
'''ภูมิทัศน์วัฒนธรรม''' ({{lang-en|Cultural landscape}}) คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดย[[มรดกโลก|กรรมาธิการมรดกโลก]]ว่าเป็น[[มรดกโลก|พื้นที่เด่นทางภูมิศาสตร์]] หรือทรัพย์สินที่ “...เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ<ref>UNESCO (2005) '''<u>Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention</u>'''[http://whc.unesco.org/en/141]. UNESCO World Heritage Centre. Paris. Page 83.</ref> แนวคิดนี้เกิดจากการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาขึ้นในแวดวงของ[[มรดกโลก]]นานาชาติ ([[ยูเนสโก]]) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ยปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่ง[[ธรรมชาติ]]และ[[วัฒนธรรม]]” ที่โด่งดังแพร่หลายมากในโลกตะวันตก <ref>PANNELL, S (2006) '''<u>Reconciling Nature and Culture in a Global Context: Lessons form the World Heritage List</u>'''[http://www.rainforest-crc.jcu.edu.au/publications/nature_culture.htm]. James Cook University, Cairns.</ref><br />
 
'''กรรมาธิการมรดกโลก'''ได้บ่งชี้และรับรองประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมไว้ 3 ประเภท ได้แก่ (1) [[ภูมิทัศน์]]ที่เกิดจากการจงใจของมนุษย์ (2) ภูมิทัศน์ทั้งหมดที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งด้วยความจงใจทำ และไม่ได้จงใจทำ และ (3) ภูมิทัศน์ที่มีร่องรอยการปรุงแต่งโดยมนุย์น้อยที่ (แต่มีคุณค่าสูง) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่คัดจาก “แนวทางปฏิบัติของกรรมาธิการ” มีดังนี้ <ref>UNESCO (2005) Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. UNESCO World Heritage Centre. Paris. Page 84.</ref>:<br />
 
(1) “ภูมิทัศน์ที่ได้รับการออกแบบและสรรค์สร้างอย่างจงในโดยมนุษย์” <br />
 
(2) “ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการมาในเชิง[[อินทรีย์]]” (organically evolved) ซึ่งอาจเป็น “ภูมิทัศน์แผ่นดินร้าง” (หรือ[[ซากดึกดำบรรพ์]]) หรือ “ภูมิทัศน์ต่อเนื่อง” (continuing landscape) <br />
 
(3) “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเชิงเชื่อมโยง” (associative cultural landscape) ที่อาจมีคุณค่าทาง “ศาสนา ศิลปะหรือที่เชื่อมโยงทางวัฒนธรรมกับองค์ประกอบทางธรรมชาติ” <br />
 
== ความเป็นมาของแนวคิด ==
แนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” มีต้นตอจาก[[ภาพเขียนภูมิทัศน์]]แบบประเพณีของ[[ยุโรป]] <ref>PANNELL, S (2006) '''<u>Reconciling Nature and Culture in a Global Context: Lessons form the World Heritage List.</u>''' James Cook University. Cairns, Australia. Page 62</ref>นับตั้งแต่ประมาณ [[พ.ศ. 2050]] เป็นต้นมา [[ศิลปิน]]ยุโรปหลายคนได้เขียนภาพภูมิทัศน์แบบตามใจผู้คน โดยย่อตัวคนในภาพเขียนให้เล็กลงและจัดกลุ่มให้อยู่ในภูมิทัศน์ประเภทต่างๆ ที่กว้างใหญ่ <ref name="GIBS1989">GIBSON, W.S (1989) '''<u>Mirror of the Earth: The World Landscape in Sixteenth-Century Flemish Painting</u>'''. Princeton University Press, Princeton, New Jersey</ref><br />
 
คำว่า “'''ภูมิทัศน์'''” ในตัวของมันเองได้ผนวก “ภูมิ” หรือผืนแผ่นดิน ซึ่งมีต้นตอมาจากคำว่าแผ่นดินในภาษาเยอรมันกับคำกริยา "''scapjan/ schaffen''" ซึ่งมีความหมายว่า “แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูป” (shaped lands) <ref>HABER, W (1995) ''Concept, Origin, and Meaning of Landscape''. UNESCO's '''<u>Cultural Landscapes of Universal Value: Components of a Global Strategy</u>'''. UNESCO, New York. Pages 38-42.</ref> และในขณะนั้นถือว่าเป็นผืนแผ่นดินที่ถูกขึ้นรูปด้วยแรงธรรมชาติ และรายละเอียดของ “แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูป” (''landshaffen'' -shaped lands) ได้กลายเป็นเนื้อหาของ “ภาพเขียนภูมิทัศน์” <Ref name="GIBS1989"/><br />
 
นัก'''ภูมิศาสตร์'''ชื่อ''ออตโต ชลูเทอร์''ได้รับการยอมรับว่าเป็นคนแรกที่ใช้คำว่า “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” อย่างเป็นทางการในคำศัพท์ทางวิชาการของเขาในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณ [[พ.ศ. 2445]]) <ref name="JAMA1981">JAMES, P.E & MARTIN, G (1981) '''<u>All Possible Worlds: A History of Geographical Ideas</u>'''. John Wiley & Sons. New York. Page 177) </ref> ในปี [[พ.ศ. 2451]] ''ชลูเทอร์''ได้ให้เหตุผลว่า ด้วยการนิยามภูมิศาสตร์ให้เป็น “วิทยาศาสตร์ภูมิทัศน์” ย่อมเป็นเหตุผลที่ทำให้ภูมิศาสตร์กลายเป็นวิชาที่มีเนื้อหาเฉพาะที่ถือได้ว่าไม่อยู่ในวิชาอื่นใด <ref>ELKINS, T.H (1989) ''Human and Regional Geography in the German-speaking lands in the first forty years of the Twentieth Century''. ENTRIKEN, J. Nicholas & BRUNN, Stanley D (Eds) '''<u>Reflections on Richard Hartshorne's The nature of geography</u>'''. Occasional publications of the Association of the American Geographers, Washington DC. Page 27</ref><ref name="JAMA1981"/> ชลูเทอร์ได้บ่งชี้ให้เห็นรูปแบบภูมิทัศน์ 2 แบบได้แก่: “''ภูมิทัศน์ธรรมชาติ''” หรือภูมิทัศน์ที่มีมาก่อนที่จะถูกเปลี่ยนแปลงมากโดยมนุษย์ และ “''ภูมิทัศน์วัฒนธรรม''” หรือภูมิทัศน์ที่มีรูปที่เกิดจากวัฒนธรรมของมนุษย์ งานสำคัญของวิชาภูมิศาสตร์ได้แก่การสืบค้นหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์ทั้งสองประเภทนี้
บรรทัด 23:
“''ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นรูปแบบที่ปั้นแต่งมาจากภูมิทัศน์ธรรมชาติโดยกลุ่มวัฒนธรรมกลุ่มหนึ่ง [[วัฒนธรรม]]เป็นตัวการ (agent) [[ธรรมชาติ]]เป็นตัวกลาง (medium) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมคือผลลัพธ์''” </blockquote>
 
นับตั้งแต่ซาวเออร์ได้ใช้คำศัพท์อย่างเป็นทางการและที่ได้เผยแพร่แนวคิดอย่างได้ผลเป็นต้นมา แนวคิดว่าด้วยภูมิทัศน์วัฒนธรรมได้มีการนำมาใช้ในหลายด้าน มีการนำไปประยุกต์ อภิปราย พัฒนาและปรับแต่งในแวดวงวิชาการเป็นจำนวนมาก โดยในปี [[พ.ศ. 2535]] กรรมาธิการมรดกโลกที่เลือกตั้งขึ้นเพื่อจัดประชุม “ผู้เชี่ยวชาญ” เพื่อให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการยกร่างแนวปฏิบัติของกรรมาธิการที่รวม “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” ให้เป็นทางเลือกหนึ่งในรายการทรัพย์สินมรดก (heritage listing properties) ที่ไม่มีรูปแบบที่เป็นธรรมชาติเพียงอย่างเดียว หรือ เป็นวัฒนธรรมเพียงอย่างเดียว (เช่นมรดกแบบผสม) <ref name="FOWL2003">FOWLER, P.J (2003) '''<u>World Heritage Cultural Landscapes 1992 - 2002</u>'''. UNESCO World Heritage Centre. Paris, France.</ref><br />
คณะกรรมาธิการมรดกโลกได้ให้การรับรองแนวคิดของ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” ซึ่งการนำมาใช้นี้ได้ปรากฏให้เห็นในหมู่ผู้เชี่ยวชาญที่หลากหลายทั่วโลก มีหลายชาติที่ได้บ่งชี้ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” ไว้อย่างชัดเจน มีการประเมินภูมิทัศน์วัฒนธรรม จัดทำรายชื่อภูมิทัศน์วัฒนธรรม จัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมและทำให้ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางไปทั่วโลกรวมทั้งการแตกสาขาอย่างเป็นระบบในลักษณะเชิงปฏิบัติที่นับว่าน่าท้าทาย <ref name="FOWL2003"/> <br />
 
การทบทวนทางวิชาการในปี [[พ.ศ. 2549]] ซึ่งเป็นการรวมพลระหว่างกรรมาธิการมรดกโลก ผู้เชี่ยวชาญพหุคูณทั่วโลกและประเทศที่นำแนวคิดภูมิทัศน์วัฒนธรรมไปใช้ได้ให้ข้อสังเกตและสรุปไว้ว่า:
บรรทัด 32:
"''แม้ว่าแนวคิดภูมิทัศน์ได้ถูกปลดปล่อยจากมีความสัมพันธ์ดั้งเดิมกับ[[ศิลปะ]]มาเป็นเวลานานพอควร .. แต่มันก็ยังปรากฏมีความเด่นในมุมมองทาง[[ภูมิทัศน์]]ที่แนบแน่นเกี่ยวพันกันเสมือนเป็นพี่น้องกับแผนที่หรือกับข้อความปรากฏให้เห็นอยู่ นั่นคือ ความหมายทางภูมิทัศน์และรูปแบบของสังคมยังคงอ่านออกได้ง่ายอยู่''" <ref>PANNELL, S (2006) '''<u>Reconciling Nature and Culture in a Global Context: Lessons form the World Heritage List.</u>''' James Cook University, Cairns. Page 63</ref></blockquote>
 
สำหรับในวงวิชาการ ระบบใดๆ ที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมของมนุษย์และที่กับพักพิงธรรมชาติ (natural habbitat) ย่อมนับได้ว่าเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรม และในเชิงของสำนึก จะเห็นว่าความเข้าใจดังกล่าวนี้กว้างขวางกว่านิยามยูเนสโกให้ไว้ คือการรวมเอาพื้นผิวของโลกที่มีการครอบครองพร้อมกับการใช้สอย ระบบนิเวศ ปฏิสัมพันธ์ การปฏิบัติ ความเชื่อ แนวคิดและประเพณีของผู้คนที่อยู่อาศัยในภูมิทัศน์วัฒนธรรมนั้นๆ <ref name="FOWL2003"/> <br />
 
ปัจจุบันมีบางมหาวิทยาลัยได้เปิดสอนและให้ปริญญาสาขาเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ''ภูมิทัศน์วัฒนธรรมศึกษา'' เช่น มหาวิทยาลัยต่างๆ ในเนเปิล เซนต์-เอแตงน์ และสตุทการ์ดที่ให้ “''ปริญญาภูมิทัศน์วัฒนธรรมศาสตร์มหาบัณฑิต''” <ref>[http://www.maclands.eu/ www.maclands.eu]</ref> <br />
 
== ภูมิทัศน์วัฒนธรรม: ตัวอย่าง ==
คณะกรรมาธิการมรดกโลกได้บ่งชี้และขึ้นบัญชีพื้นที่หรือทรัพย์สินหลายแห่งเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่มีคุณค่าโดยรวมต่อมนุษยชาติ ซึ่งรวมถึงสถานที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้ <ref>[http://whc.unesco.org/en/culturallandscape/] UNESCO Web Page Article on 'Cultural Landscapes. Accessed 9 January 2008</ref> <br />
 
=== [http://whc.unesco.org/pg.cfm?cid=31&id_site=421 อุทยานแห่งชาติทองการิโร (Tongariro National Park) นิวซีแลนด์ (พ.ศ. 2536)] ===
บรรทัด 88:
 
== บรรณานุกรม ==
* Conzen, M. 1993, ‘The historical impulse in Geographical writing about the United States 1850 1990’, in Conzen, M., Rumney, T. and Wynn, G. 1993, ''A Scholar's Guide to Geographical Writing on the American and Canadian Past'', The University of Chicago Press, Chicago, pp.3 90.
* Denevan William M. 1992, The Americas before and after 1492: Current Geographical Research, ''Annals of the Association of American Geographers'', Vol. 82, No. 3, pp. 369-385.
* Elkins, T. H. 1989. Human and Regional Geography in the German-speaking lands in the first forty years of the Twentieth Century, in J. Nicholas Entrikin & Stanley D. Brunn (eds). ''Reflections on Richard Hartshorne's The nature of geography'', Occasional publications of the Association of the American Geographers, Washington DC. 17-34.
* James, P. E. and Martin, G. 1981, ''All Possible Worlds: A history of geographical ideas'', John Wiley & Sons, New York.
* Sauer, C. 1925, ''The Morphology of Landscape'', University of California Publications in Geography, 22:19 53.
 
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรม]]
บรรทัด 104:
[[de:Kulturlandschaft]]
[[en:Cultural landscape]]
[[fr:Paysage culturel]]
[[ja:文化的景観]]
[[nl:Cultuurlandschap]]