ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคันธารราษฎร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 20:
[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] โปรดเกล้าฯ ให้หล่อขึ้นเมื่อปีเถาะ เบญจศก จ.ศ. 1145 ([[พ.ศ. 2326]]) มีลักษณะเป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ขวายกเสมอพระอุระในท่ากวัก พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลาเป็นกิริยารับน้ำ ลักษณะพระพักตร์ค่อนข้างกลม พระขนงโก่ง พระเนตรเหลือบต่ำโดยลงยาสีเหมือนจริง พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์บางเรียว พระกรรณยาว เกือบจดพระอังสา ขมวดพระเกศาทำเป็นรูปก้นหอยเรียงตลอดถึงพระเมาลี พระรัศมีทำเป็นรูปดอกบัวตูม ครองจีวรห่มเฉียง เปิดพระอังสาขวามีริ้วผ้าที่ด้านหน้าองค์พระพุทธรูป รองรับด้วยฐานบัวคว่ำบัวหงายและฐานสิงห์ ลักษณะทั้งหมด เป็นพระราชดำริที่โปรดให้ถ่ายแบบ มาจากพระพุทธรูปในสมัยโบราณ เดิมเป็นพระพุทธรูปสำริดลงรักปิดทอง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้กะไหล่ทอง และติดเพชรเม็ดใหญ่เป็นพระอุณาโลมที่พระนลาฏ ปัจจุบันไม่มีเพชรที่พระนลาฏ
พระคันธารราษฎร์นี้ เดิมคงประดิษฐานในพระบรมมหาราชวัง ต่อมาปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และสร้างปูชนียสถานเพิ่มเติม ได้สร้าง[[หอพระคันธารราษฎร์]] ขึ้นที่มุมระเบียงด้านหน้าพระอุโบสถ เป็นอาคารขนาดเล็กยอดปรางค์ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป และ[[เทวรูป]]สำคัญที่ใช้ใน[[พระราชพิธีพิรุณศาสตร์]] [[พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ]] เรียกนามอาคราอาคารตามนามพระพุทธรูปว่า “หอพระคันธารราษฎร์”
 
==ประเพณี==