ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ริชาร์ด ไฟน์แมน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NNa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
กล่องข้อมูล
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นักวิทยาศาสตร์
[[ไฟล์:Feynman.jpg|thumb|ริชาร์ด ไฟน์แมน]]
|box_width = 300px
[[ไฟล์:Feynman.jpg|thumb|name = ริชาร์ด ไฟน์แมน]]
|image = Feynman.jpg
|image_size = 150px
|caption = ริชาร์ด ฟิลิปป์ ไฟน์แมน (1918–1988)
|birth_date = {{birth date|mf=yes|1918|5|11|mf=y}}
|birth_place = {{nowrap|ควีนส์, [[นิวยอร์ก]], [[สหรัฐอเมริกา]]}}
|death_date = {{death date and age|mf=yes|1988|2|15|1918|5|11}}
|death_place = ลอสแองเจลิส [[แคลิฟอร์เนีย]] [[สหรัฐอเมริกา]]
|residence = [[สหรัฐอเมริกา]]
|citizenship =
|nationality = [[ชาวอเมริกัน]]
|ethnicity = [[Russians|Russian]]-[[Poles|Polish]]-[[Jew]]ish<ref>[http://www.nndb.com/people/584/000026506/ NNDB profile of Richard Feynman]</ref>
|fields = [[ฟิสิกส์]]
|workplaces = [[โครงการแมนฮัตตัน]]<br/>[[มหาวิทยาลัยคอร์แนล]]<br/>[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]]
|alma_mater = [[สถาบันเทคโนโลยีแมตซาชูเซตต์]]<br/>[[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]]
|doctoral_advisor = [[John Archibald Wheeler]]
|academic_advisors = [[Manuel Sandoval Vallarta]]
|doctoral_students = [[Albert Hibbs|Al Hibbs]]<br/>[[George Zweig]]</br>[[Giovanni Rossi Lomanitz]]
</br>[[Thomas Curtright]]
|notable_students = [[Douglas D. Osheroff]]
|known_for = [[Feynman diagram]]s</br>[[Feynman point]]</br>[[Feynman–Kac formula]]</br>[[Wheeler–Feynman absorber theory]]</br>[[Feynman sprinkler]]</br>[[Feynman Long Division Puzzles]]</br>[[Hellmann–Feynman theorem]]</br>[[Feynman slash notation]]</br>[[Feynman parametrization]]</br>[[Sticky bead argument]]</br>[[One-electron universe]]</br>[[Quantum cellular automata]]
|author_abbrev_bot =
|author_abbrev_zoo =
|influences = [[John C. Slater]]
|influenced = [[Hagen Kleinert]]</br>[[Rod Crewther]]</br>[[José Leite Lopes]]
|awards = [[รางวัลอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] (1954)<br/> [[Ernest Orlando Lawrence Award|E. O. Lawrence Award]] (1962)</br>[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] (1965)<br/>[[Oersted Medal]] (1972)</br>[[National Medal of Science]] (1979)
|religion = [[Atheism|Atheist]]<ref> "I told him I was as strong an atheist as he was likely to find" {{Harv|Feynman|2005}}</ref>
|signature = feyn.jpg
|footnotes = เขาเป็นบิดาของ [[คาร์ล ไฟน์แมน]] และ [[มิเชล ไฟน์แมน]] และเป็นพี่ชายของ [[โจน ไฟน์แมน]]
}}
 
'''ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน''' ({{lang-en|Richard Phillips Feynman}}) [[นักฟิสิกส์]]ชาว[[สหรัฐอเมริกา|อเมริกัน]] เกิดเมื่อวันที่ [[11 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1918]] เสียชีวิต [[15 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1988]] เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]]
 
ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าว[[บีบีซี]], ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน, ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของ[[ทฤษฎีควอนตัม]] คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน [[ค.ศ. 2005]]). แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่าง[[สตีเฟ่น ฮอว์คิง]] ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต. แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต.
'''ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน''' (Richard Phillips Feynman) [[นักฟิสิกส์]]ชาว[[สหรัฐอเมริกา|อเมริกัน]] เกิดเมื่อวันที่ [[11 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1918]] เสียชีวิต [[15 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1988]] เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]]
 
ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยาย[[ทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมอิเล็กทรอไดนามิกส์]]ให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก, ซึ่งนำไปสู่[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]สาขาฟิสิกส์ เมื่อปี [[ค.ศ. 1965]] ซึ่งเขาได้ร่วมกับ[[จูเลียน ชวิงเกอร์]] และ[[โทะโมะนะกะ ชินอิจิโร]]. ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่[[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] ที่ที่[[ไอน์สไตน์]]อยู่, เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก. ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้"
ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าว[[บีบีซี]], ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน, ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของ[[ทฤษฎีควอนตัม]] คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน [[ค.ศ. 2005]]). แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่าง[[สตีเฟ่น ฮอว์คิง]] ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต. แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต.
 
ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับ[[เมอเรย์ เกลมานน์]] ผู้คิดค้นทฤษฎี[[ควาร์ก]], [[ไลนัส พอลลิง]] หนึ่งใน[[นักเคมี]]ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้น[[ทฤษฎีควอนตัมเคมี]], และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่นๆ. ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียน[[คำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน]]อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย
ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยาย[[ทฤษฎีควอนตัมอิเล็กทรอไดนามิกส์]]ให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก, ซึ่งนำไปสู่[[รางวัลโนเบล]]สาขาฟิสิกส์ เมื่อปี [[ค.ศ. 1965]] ซึ่งเขาได้ร่วมกับ[[จูเลียน ชวิงเกอร์]] และ[[โทะโมะนะกะ ชินอิจิโร]]. ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่[[มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน]] ที่ที่[[ไอน์สไตน์]]อยู่, เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก. ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้"
 
นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนา[[อาวุธนิวเคลียร์|ระเบิดนิวเคลียร์]]ลูกแรกของโลก ใน[[โครงการแมนฮัตตัน]], เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของ[[กระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์]], และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของ[[นาโนเทคโนโลยี]].
ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับ[[เมอเรย์ เกลมานน์]] ผู้คิดค้นทฤษฎี[[ควาร์ก]], [[ไลนัส พอลลิง]] หนึ่งใน[[นักเคมี]]ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้น[[ทฤษฎีควอนตัมเคมี]], และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่นๆ. ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียน[[คำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน]]อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย
 
นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนา[[อาวุธนิวเคลียร์|ระเบิดนิวเคลียร์]]ลูกแรกของโลก ใน[[โครงการแมนฮัตตัน]], เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของ[[กระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์]], และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของ[[นาโนเทคโนโลยี]].
 
== ผลงานเกี่ยวกับไฟน์แมน ==