ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะแพโทซอรัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
สังคายนาวิกิพีเดียไทยรอบ 2 +ต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ต้องการแหล่งอ้างอิง}}
 
บรรทัด 18:
| subdivision_ranks = [[Species]]
| subdivision =
* ''A. ajax'' <small>Marsh, 1877 ([[Type (zoology)|type]]) </small>
* ''A. excelsus'' <small> (Marsh, 1879c) Riggs, 1903</small>
* ''A. louisae'' <small>Holland, 1915</small>
* ''A. parvus'' <small> (Peterson & Gilmore, 1902) <small>
| synonyms =
* ''Brontosaurus'' <small>Marsh, 1879c</small>
* ''Elosaurus'' <small>Peterson & Gilmore, 1902</small>
}}
 
'''อะแพทโตซอรัส''' ({{lang-en|Aapatosarus}}) หรือชื่อที่คุ้นเคยกันในอดีตว่า ''' บรอนโตซอรัส''' (Brontosaurus) เป็นไดโนเสาร์ยักษ์ในยุคจูราสสิค กินพืชเป็นอาหาร เคยมีสมญาว่า ยักษ์ใหญ่ไร้พิษสง อาศัยอยู่บนโลกนี้เมือประมาณ 190-135 ล้านปีที่ผ่านมา ชื่อของไดโนเสาร์ชนิดนี้ เมื่อแปลออกมาแล้ว จะมีความหมายว่า ไม่ใช่กิ้งก่า
'''อะแพทโตซอรัส''' (Aapatosarus)
 
หรือชื่อที่คุ้นเคยกันในอดีตว่า ''' บรอนโตซอรัส''' (Brontosaurus) เป็นไดโนเสาร์ยักษ์ในยุคจูราสสิค กินพืชเป็นอาหาร เคยมีสมญาว่า ยักษ์ใหญ่ไร้พิษสง อาศัยอยู่บนโลกนี้เมือประมาณ 190-135 ล้านปีที่ผ่านมา ชื่อของไดโนเสาร์ชนิดนี้ เมื่อแปลออกมาแล้ว จะมีความหมายว่า ไม่ใช่กิ้งก่า
 
อะแพทโตเซารัส เป็น ไดโนเสาร์ ที่ตัวใหญ่มาก เมื่อโตเต็มที่ จะยาวถึง 75 ฟุต สูงกว่า 15 ฟุต (แต่ขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยพบคือ 85 ฟุต) หางยาวอะแพทโตซอรัสมีน้ำหนัก 24-35 ตัน ถูกค้นพบในยุคแรก ๆ ของสงครามล่ากระดูกไดโนเสาร์ในอเมริกา ปลายคริสศตวรรษที่ 19
เส้น 35 ⟶ 33:
ลักษณะตามแบบตระกูลซอโรพอด คือ คอยาว หางยาวมาก ๆ ประมาณ 23-26 เมตร หัวเล็ก ดูเผิน ๆ เหมือนกับนกไม่มีหัว จึงได้ชื่อว่า อะแพทโตซอรัส แปลว่า สัตว์เลื้อยคลานหัวหาย ขา 4 ข้างใหญ่เหมือนเสา สามารถรับน้ำหนักตัวมันได้ แม้จะอยู่บนบก หรือ ยืน 2 ขาขึ้นเพื่อหาใบไม้อ่อนยอดสูงกิน ที่เท้าหน้าของอะแพทโทซอรัส มีเล็บแหลมตรงนิ้วโป้ง ซึ่งปัจจุบันนักโบราณชีววิทยา สันนิษฐานว่า น่าจะเป็นอาวุธใช้ป้องกันตัวต่อสู้กับพวก[[อัลโลซอรัส]] ด้วยการยืน 2 ขา แล้วใช้เล็บแหลมนี้ทิ่มจิกนักล่า
 
ที่สำคัญลักษณะเจ้านี้ประหลาดมาก คือ มีหัวใจ 7-8 ดวงรียงจากอกถึงลำคอ เพื่อช่วยในการสูบฉีดเลือดเพราะมีลำตัวยาวมาก นอกจากนี้ พวกนี้มีฟันรูปร่างคล้ายแท่งดินสอที่ไม่แข็งแรงเคี้ยวอะไรไม่ได้ นอกจากพืชน้ำที่นิ่มที่สุดเท่านั้น ( บางข้อมูล ก็เชื่อว่า มันใช้ฟันแท่งดินสอเหล่านี้ รูดใบไม้อ่อนตามยอดต้นไม้กิน)
 
หัวของมันก็เล็กจิ๋ว เมื่อ เทียบกับ ความใหญ่โตของลำตัว สมองของอะแพทโตซอรัสจึงจิ๋วตามหัวไปด้วย แต่รูจมูกของมัน จะอยู่กลางกระหม่อม สันนิษฐานว่า เพื่อประโยชน์ในการใช้ชีวิตในแหล่งน้ำ ทำให้อะแพทโตซอรัสสามารถดำน้ำได้นาน เพราะขณะดำน้ำ มันจะชูคอ โผล่แต่กระหม่อมขึ้นมาเหนือน้ำ ส่วนตัวก็อยู่ใต้น้ำ ที่มันต้องดำน้ำ ก็เพราะที่อยู่ของเจ้าอะแพทโตซอรัสเป็นถิ่นที่อยู่ของไดโนเสาร์กินเนื้อพันธุ์ดุร้ายมากมายนั่นเอง และใต้น้ำก็มีต้นไม้อ่อนๆ นิ่ม ๆ ไม่เหมือนต้นไม้บนบก ที่มีใบแข็ง มันจึงต้องดำน้ำ หรือ อยู่ใกล้แหล่งน้ำเสมอ
อย่างไรก็ดี ทฤษฎีการดำน้ำของอะแพทโตซอรีส หรือ ซอโรพอดอื่นๆ เริ่มเป็นที่ถกประเด็นในยุคหลัง ว่า เป็นได้จริงแค่ไหน โดยนักชีววทิยามีความเห็นว่า หากซอโรพอดต้องหลบศัตรูโดยดำน้ำลงไปลึกเกือบ 10 เมตรจริง ลำคอ และ ปอดของมันจะทนทานแรงกดดันของน้ำลึกขนาดนั้นหรือไม่
 
ภาพพจน์ในอดีต ของอะแพทโตซอรัส ถูกมองว่าเป็นยักษ์ไร้พิษสง มักจะพบภาพของมันถูกวาดให้โดนไดโนเสาร์นักล่าตระครุบขย้ำเป็นอาหาร (ในจำนวนนี้ มีมากที่เป็นภาพ ไทรันโนซอรัส กำลังล่า อะแพทโตซอรัส ผิดจากความเป็นจริงที่ ว่า เหยื่อกับนักล่า 2 พันธุ์นี้ มีชีวิตอยู่คนละยุคห่างกันหลายสิบล้านปี ไม่สามารถมาเผชิญหน้ากัน) เนื่องจาก ลักษณะของมันไม่มีอาวุธป้องกันตัวที่เด่นเช่น เขาขนาดใหญ่แบบ[[ไทรเซอราทอปส์]] หรือ หนาม-ตุ้ม ที่หางแบบไดโนเสาร์หุ้มเกราะ แต่การค้นคว้าสมัยหลังๆ เชื่อว่า มันไม่ใช่เหยื่อตัวยักษ์ที่หวานหมูนักล่าขนาดนั้น ด้วยขนาดตัวที่ใหญ่กว่า นักล่าหลายเท่านั้น ก็เป็นอุปสรรคแก่นักล่าระดับหนึ่งแล้ว เช่นเดียวกับ ช้าง ในปัจจุบัน
 
อะแพทโตซอรัสมีหางที่ยาวมาก เพื่อถ่วงคานน้ำหนักกับส่วนคอที่ยาวของมัน คำนวณกันมาว่า หากไม่มีส่วนหาง อะแพทโตซอรัสจะไม่สามารถยกคอมันขึ้นจากพื้นได้ นอกจากนี้ หางใหญ่ของมันยังเป็นอาวุธป้องกันตัวสำคัญใช้ฟาดอย่างแรงเมื่อถูก[[อัลโลซอรัส]] หรือ นักล่าอื่นๆโจมตี ส่วนตรงปลายหางที่เรียวเล็กก็ใช้หวดต่างแส้ได้เช่นกัน
 
{{โครงสัตว์}}