ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การคิดวิเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
การคิดเชิงวิจารณ์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น การคิดเชิงวิจารณญาณ: ให้เหมาะสมขึ้น
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
== ภาพรวม ==
 
ภายใต้กรอบแห่ง “[[ความน่าสงสัย]]” (skepticism) กระบวนการคิดเชิงวิจารณ์เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับการสืบหาข้อมูลและการประเมินข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปหรือคำตอบที่เชื่อถือได้ การคิดเชิงวิจารณ์ประกอบด้วย “ตรรกะที่ไม่เป็นทางการ” (informal logic) ผลการวิจัยด้าน[[การรับรู้เชิงจิตวิทยา]] (cognitive psychology) ทำให้นักการศึกษาเริ่มเชื่อมากขึ้นว่าสถาบันการศึกษาทุกแห่งควรเน้นการสอนทักษะการคิดเชิงวิจารณ์วิจารณญาณให้มากขึ้นแทนการสอนให้เรียนรู้แบบท่องจำ
 
กระบวนการของการคิดเชิงวิจารณ์สามารถตอบสนองประเด็นและสถานการณ์ได้หลายๆ อย่างและทำให้เราสามารถสืบเสาะหาสิ่งเชื่อมโยงระหว่างกันได้ด้วย ดังนั้น การคิดเชิงวิจารณ์จึงเป็นตัวสร้างระบบช่องความคิดต่างๆ ที่สัมพันธ์กับความรู้ เช่น [[วิทยาศาสตร์]] [[คณิตศาสตร์]] [[วิศวกรรมศาสตร์]] [[ประวัติศาสตร์]] [[มานุษยวิทยา]][[เศรษฐศาสตร์]] [[หลักเหตุผลทางศีลธรรม]] และ[[ปรัชญา]]
บรรทัด 174:
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''''คำวัด''''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ การคิดเชิงวิพากษ์ Success Media กรุงเทพฯ พ.ศ. 2549. ISBN 974-489-440-7
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://sites.google.com/site/builtenvironmentthai/page5/kar-khid-cheing-wi-ca-rn-yan-khux-xai การคิดเชิงวิจารณญาณ, เว็บไซต์แก่นสาระ-สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง]