ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกราะญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:yoroi_japanese.jpg|250px|thumb|''เกราะญี่ปุ่นของซามูไรในสมัยโบราณ'']]
 
'''เกราะญี่ปุ่น''' {{ญี่ปุ่น|鎧|yoroi}} คือเครื่องสวมใส่สำหรับป้องกันอันตรายจากอาวุธ ของนักรบซามูไรในสมัยโบราณและทหารเดินเท้า เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักรบ [[ซามูไร]] ในการต่อสู้ ถูกเรียกว่า ''จิตวิญญาณแห่งเหล็กกล้า'' เกราะญี่ปุ่น สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปประเภท คือ '''โยะโรย''' และ '''โดะมะรุ''' ซึ่ง โยะโรย คือเกราะสำหรับซามูไรขี่ม้า หรือแม่ทัพและไดเมียว ซึ่งลักษณะของเกราะจะมีน้ำหนักมากและมีแผงกำบังไหล่ สีสันฉูดฉาดสะดุดตา ส่วน ''โดะมะรุ'' คือเกราะสำหรับซามูไรเดินเท้า จะแตกต่างกับ ''โยะโรย'' ตรงที่เกราะจะมีน้ำหนักเบาและสวมพอดีตัวกับผู้สวมใส่ และสีสันค่อนข้างทึบ
บรรทัด 7:
== ความเป็นมาของเกราะญี่ปุ่น ==
 
[['''เกราะญี่ปุ่น]]''' ของเหล่า [[ซามูไร]] ถูกนำมาจาก [[ประเทศจีน]] สร้างขึ้นจากเหล็กกล้าแผ่นบางๆ นำมาประกอบเข้าด้วยกัน ร้อยด้วยไหมหรือเชือก ชิ้นส่วนต่างๆ หลายๆ ชิ้นที่สามารถสวมใส่สามารถแยกออกจากกันได้ ตัวแผ่นของชุดเกราะถูกออกแบบอย่างชาญฉลาด ให้มีความหนาของเกราะมากกว่าหนึ่งชั้น มีแผ่นเหล็กอ่อนรองบริเวณด้านหลัง เพื่อที่จะช่วยดูดซับแรงกระแทกจากการปะทะในการต่อสู้ บริเวณด้านหน้าจะเป็นแผ่นเหล็กกล้าที่มีความแข็งกว่า และท้ายที่สุดเป็นการลงน้ำมันชักเงาหลายๆ ชั้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกราะเป็นสนิมเวลาถูกน้ำ
 
ลักษณะของชุดเกราะที่สามารถแยกเป็นชิ้นๆ ของเกราะนั้นหมายความว่า '''ซามูไรที่ทำหน้าที่รักษาการณ์ในคฤหาสน์ของนายเหนือภายในจวนต่างๆ ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องสวมชุดเกราะที่เต็มอัตราศึกเช่นเวลาออกศึก [[สงคราม]] อาจจะสวมแค่ส่วนแขนของชุดเกราะไว้ภายใต้ชุด [[กิโมโน]] ปกติ แขนของชุดเกราะที่มีความยืดหยุ่นได้นี้ สร้างจากแผ่นเกราะชิ้นเล็กๆ ร้อยเข้าด้วยกันด้วยเส้นไหม เชือก หรือเชือกหนังเคลือบ แล้วใช้สายรัดบริเวณช่วงไหล่เพื่อยึดไว้ ในทางเดียวกันหากคาดการณ์ว่าข้าศึกศัตรูคงยังไม่บุกเข้าจู่โจม ซามูไรอาจจะสวมเกราะไว้เพียงบางชิ้นเท่านั้น ในขณะที่จะเก็บชิ้นส่วนที่หนักๆ ไว้ก่อน รอให้มีความจำเป็นแล้วค่อยสวมเกราะที่เต็มอัตราศึก
 
การสวมชุดเกราะที่เต็มอัตราศึกนั้น จะประกอบด้วยพิธีกรรมชุดหนึ่งที่ให้เริ่มสวมเกราะที่ มือ ขา หรือแขนก่อน จุดสำคัญของพิธีกรรมนี้ก็คือ จะช่วยให้ [[ซามูไร]] และคนรับใช้ ไม่ลืมชิ้นส่วนใดชิ้นส่วนหนึ่งของชุดเกราะไปในระหว่างการสวมเกราะ นอกจากนี้ยังช่วยในการจัดระเบียบของชุดเกราะเพื่อให้ชิ้นที่สวมทีหลัง เหลื่อมทับบนชิ้นที่อยู่ข้างใต้ที่สวมลงไปก่อน การปกป้องของเกราะจึงเพิ่มประสิทธิภาพแก่ผู้สวมใส่มากยิ่งขึ้น เพราะการฟันจะถูกหันเหออกจากผู้สวมเกราะ โดยผิวหน้าที่เอียงลาดจำนวนมาก ที่อยู่บนบริเวณไหล่ของซามูไรลงไปตามบริเวณลำตัว จะมีส่วนเพียงเล็กน้อยที่จะยื่นออกมาจากเกราะที่ทำให้การฟันเกาะเกี่ยวได้ และทำให้คมดาบเหเข้ามาหาตัวซามูไรลงไปด้านล่างแทน [['''เกราะญี่ปุ่น]]''' ถูกสร้างขึ้นสำหรับนักรบ [[ซามูไร]] สมาชิกของชนชั้นนักรบผู้ทำหน้าที่คุ้มครองและรับใช้ [[ไดเมียว]] [[แม่ทัพ]] และ [[ทหาร]] เมื่อยามออกศึก [[สงคราม]] เกราะญี่ปุ่นนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
 
* เกราะโยโรย
 
* เกราะโดะมะรุ
 
=== เกราะโยะโรย ===
[[ภาพ:yoroi samurai.jpg|left|200px|thumb|''เกราะโยะโรย สำหรับซามูไรขี่ม้า'']]
 
[[ภาพไฟล์:yoroi samurai.jpg|left|200px|thumb|''เกราะโยะโรย สำหรับซามูไรขี่ม้า'']]
เกราะญี่ปุ่น หรือ ''' โยะโรย ''' (''yoroi (鎧)'') สร้างขึ้นในสมัยศตวรรษที่ 5 และ 6 เพื่อใช้ในการศึกสงครามของเหล่าไดเมียว ซามูไร และกองกำลังทหาร นำวิธีการสร้างมาจาก [[ประเทศจีน]] โดยนำแผ่น [[เหล็ก]] กล้าขนาดบาง เป็นชิ้นเล็กๆ จำนวนมากกว่าร้อยชิ้น ต่อร้อยเชื่อมติดเข้าด้วยกันด้วยเส้น [[ไหม]] หรือเส้นหรือเชือกหนังให้เป็นแผ่นใหญ่ ก่อนจะเคลือบอีกชั้นด้วย [[แลคเกอร์]] เพื่อป้องกัน [[น้ำ]] หลังจากนั้นนำมาประกอบเข้าด้วยกันเป็นชุด โดยให้เส้นไหมที่ใช้เชื่อมยืดติดกันนั้นเกยกันระหว่างแผ่นเหล็ก ชุดเกราะไสตล์ [[ญี่ปุ่น]] โบราณมีชื่อเรียกว่า "โยะโรย" ในสมัยโบราณชุดเกราะโยะโรย ถูกออกแบบและจัดสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการขี่ม้าเวลาซามูไรออกศึกสงคราม เนื่องจากชุดเกราะโยะโรย ถูกสร้างจากแผ่นเหล็กจำนวนมาก ทำให้มีปริมาณน้ำหนักค่อนมากและเป็นอุปสรรคในการเคลื่อนไหว โดยปกติแล้วน้ำหนักของชุดเกราะประมาณ 30 - 40 กิโลกรัม ซึ่งสร้างประสิทธิภาพในการต่อสู้แก่ซามูไรเป็นอย่างมาก ในการสวมใส่ชุดเกราะโยะโรย ผู้สวมจะต้องทนแบกรับน้ำหนักของชุดเกราะในบริเวณส่วนไหล่ ซึ่งเป็นข้อเสียของชุดเกราะชนิดนี้ เพราจะะทำให้การเคลื่อนไหวค่อนข้างจำกัด เมื่อยามที่ต้องต่อสู้หรือกวัดแกว่งดาบ [[คะตะนะ]] เข้าใส่ศัตรู
 
เกราะญี่ปุ่น หรือ ''' โยะโรย ''' (''yoroi (鎧) '') สร้างขึ้นในสมัยศตวรรษที่ 5 และ 6 เพื่อใช้ในการศึกสงครามของเหล่าไดเมียว ซามูไร และกองกำลังทหาร นำวิธีการสร้างมาจาก [[ประเทศจีน]] โดยนำแผ่น [[เหล็ก]] กล้าขนาดบาง เป็นชิ้นเล็กๆ จำนวนมากกว่าร้อยชิ้น ต่อร้อยเชื่อมติดเข้าด้วยกันด้วยเส้น [[ไหม]] หรือเส้นหรือเชือกหนังให้เป็นแผ่นใหญ่ ก่อนจะเคลือบอีกชั้นด้วย [[แลคเกอร์]] เพื่อป้องกัน [[น้ำ]] หลังจากนั้นนำมาประกอบเข้าด้วยกันเป็นชุด โดยให้เส้นไหมที่ใช้เชื่อมยืดติดกันนั้นเกยกันระหว่างแผ่นเหล็ก ชุดเกราะไสตล์ [[ญี่ปุ่น]] โบราณมีชื่อเรียกว่า "โยะโรย" ในสมัยโบราณชุดเกราะโยะโรย ถูกออกแบบและจัดสร้างขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการขี่ม้าเวลาซามูไรออกศึกสงคราม เนื่องจากชุดเกราะโยะโรย ถูกสร้างจากแผ่นเหล็กจำนวนมาก ทำให้มีปริมาณน้ำหนักค่อนมากและเป็นอุปสรรคในการเคลื่อนไหว โดยปกติแล้วน้ำหนักของชุดเกราะประมาณ 30 - 40 กิโลกรัม ซึ่งสร้างประสิทธิภาพในการต่อสู้แก่ซามูไรเป็นอย่างมาก ในการสวมใส่ชุดเกราะโยะโรย ผู้สวมจะต้องทนแบกรับน้ำหนักของชุดเกราะในบริเวณส่วนไหล่ ซึ่งเป็นข้อเสียของชุดเกราะชนิดนี้ เพราจะะทำให้การเคลื่อนไหวค่อนข้างจำกัด เมื่อยามที่ต้องต่อสู้หรือกวัดแกว่งดาบ [[คะตะนะ]] เข้าใส่ศัตรู
 
ในระหว่างยุคสมัยสงครามโอนิน ชุดเกราะโยะโรยสำหรับนักรบซามูไรขี่ม้า เริ่มที่จะเกิดความเปลี่ยนแปลง ทำให้น้ำหนักของชุดเกราะถ่ายเทไปยังส่วนร่างกายของผู้สวมใส่มากขึ้น ซึ่งสามารถช่วยในการให้นักรบซามูไรใช้ดาบ [[คะตะนะ]] เพราะการเคลื่อนไหวในบริเวณช่วงไหล่ ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องทนฝืนแบกรับน้ำหนักของชุดเกราะที่สวมใส่ และน้ำหนักของดาบคู่สองเล่ม คือดาบยาว [[คะตะนะ]] และ ดาบสั้น [[วาคิซาชิ]] แต่การที่ใช้เส้นไหมหรือเชือกเชื่อมร้อยชิ้นส่วนต่างๆ ของชุดเกราะชนิดนี้ยังคงอยู่ ซึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องอาศัยความระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง ทั้งในการผลิตและในการดูแลชุดเกราะชนิดวันต่อวัน เพื่อให้ชุดเกราะสามารถทำงานได้อย่างถูกต้อง สำหรับประเทศญี่ปุ่นสมัยโบราณที่พื้นที่ที่เต็มไปด้วยทุ่งนา การใช้ชุดเกราะโยะโรยที่ยึดด้วยเส้นไหมหรือเชือกร้อยดูจะเป็นเรื่องแปลกสำหรับบุคคลทั่วไป เส้นไหมหรือเชือกที่ใช้ร้อยแผ่นเหล็กชิ้นเล็กนั้นสามารถดูดซับน้ำได้ง่าย จึงทำให้ชุดเกราะมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้น และในสภาวะที่มีอากาศหนาวเย็น เส้นไหมหรือเชือกที่ใช้ร้อยจะแข็งตัวได้ง่าย
เส้น 36 ⟶ 35:
=== เกราะโดะมะรุ ===
 
[[ภาพไฟล์:yoroi samurais.jpg|left|200px|thumb|''เกราะโดะมะรุ สำหรับซามูไรเดินเท้า]]
 
'''เกราะโดะมะรุ''' (''Domaru (ドマル) '') คือชุดเกราะสำหรับ [[ซามูไร]] เดินเท้า สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 5 และ 6 เช่นเดียวกับ '''เกราะโยะโรย''' จากแผ่นเหล็กกล้าชิ้นบางๆ นับร้อยชิ้น ร้อยเชื่อมต่อเข้าด้วยกันเป็นแผ่นใหญ่ด้วยเส้นไหมหรือเชือก ซ้อนทับกันหลายชั้น เกราะโดะมะรุ จะแตกต่างกับ เกราะโยะโรย เนื่องจากมีน้ำหนักเบากว่า สวมใส่พอดีตัวและไม่มีแผงกำบังไหล่ ผู้สวมใส่เกราะโดะมะรุจะไม่ต้องทนแบกรับน้ำหนักของชุดเกราะ ในบริเวณส่วนหัวไหล่เช่นเดียวกับเกราะโยะโรย ทำให้มีความคล่องตัวในการเคลื่อนไหวได้มากกว่า เกราะชนิดนี้ถูกสร้างขึ้นสำหรับซามูไรเดินเท้า ที่มีความปราดเปรียวคล่องแคล่วว่องไวในการต่อสู้ เพื่อที่จะสามารถคุ้มกัน [[ไดเมียว]] หรือแม่ทัพที่อยู่บนหลัง [[ม้า]] พร้อมกับอาวุธ ซึ่งจะสวมเกราะโยะโรย ที่มีน้ำหนักมากกว่า และเป็นอุปสรรคเวลาเคลื่อนไหวหรือกวัดแกว่งอาวุธ
 
เกราะโดะมะรุ มีสีสันที่ไม่ฉูดฉาด สะดุดตาเช่นเดียวกับเกราะโยะโรย ที่นิยมสีสันที่ฉูดฉาดเพื่อเป็นการบ่งบอกสถานะของตนเอง สีของเกราะโดะมะรุนั้นค่อนข้างทึบและเรียบง่าย เหมาะสำหรับการแฝงตัวในความมืดเวลาออกศึก [[สงคราม]] ในเวลากลางคืน เกราะโดะมะรุถูกออกแบบขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เช่นเดียวกันกับเกราะโยะโรย คือเพื่อใช้ในการทำศึก [[สงคราม]] สำหรับเกราะโดะมะรุนั้น เส้นไหมหรือเชือกที่สำหรับใช้ร้อยแผ่นเหล็กกล้าจำนวนมากเข้าด้วยกัน จะใช้สีที่อ่อนกว่าเส้นไหมหรือเชือกที่ใช้สำหรับร้อยเกราะโยะโรย เช่นสีเทา สีน้ำเงิน ซึ่งจะเป็นการบ่งบอกถึงสถานะของผู้สวมใส่เช่นเดียวกัน
เส้น 48 ⟶ 47:
 
== ส่วนประกอบของเกราะญี่ปุ่น ==
[[ภาพไฟล์:yoroi detial.jpg|220px|thumb|''ส่วนประกอบต่างๆ ของเกราะโยะโรย'']]
 
ชุดเกราะของนักรบซามูไรไม่ได้สร้างจากแผ่นเหล็กทึบเพียงแผ่นเดียว แต่ประกอบขึ้นด้วยชิ้นส่วนต่างๆ ของแผ่นเหล็กกล้าที่มีขนาดบางจำนวนมากมายภายในเกราะหลายๆ หลายชนิดเข้าด้วยกัน ร้อยด้วยเส้นไหมหรือเชือก ชิ้นส่วนต่างๆ ของเกราะญี่ปุ่นทั้ง 2 ประเภท มีจำนวนมาก ซึ่งในการสวมเกราะโยะโรยเต็มอัตราศึกของไดเมียว แม่ทัพหรือซามูไร ในเวลาออกศึกสงคราม จะใช้เวลาค่อนข้างมาก และจำเป็นต้องมีผู้รับใช้ช่วยในการสวมใส่ โดยจะเริ่มสวมจากมือ ขา หรือแขนก่อนเป็นอันดับแรก เกราะโยะโรยนั้นเป็นเกราะดั้งเดิมแต่โบราณของไดเมียว ซามูไรหรือแม่ทัพ ซึ่งประกอบด้วยส่วนหลักๆ ของเกราะ ดังนี้
* '''คะบุโตะ (kabuto 兜) ''' หรือ หมวกเกราะ
* '''โด (dou 同) ''' หรือ เกราะส่วนบริเวณลำตัว สร้างจากแผ่นเหล็ก
* '''เกียวโย (gyow-yow'''
* '''โอโซะเดะ (o-sode 大袖) ''' หรือ แผงกำบังไหล่
* hikiawase-o
* '''โคะเทะ (kote 籠手) ''' หรือ เกราะบริเวณส่วนแขนและมือ
* kurijime-o
* '''ทสึรุบะชิริ (kusazuri) ''' หรือ เกราะบริเวณส่วนหน้าอก
* '''ไฮดาเทะ (haidate 佩楯) '''
* '''สึเนะอะเทะ (suneate 脛当) ''' หรือ เกราะบริเวณส่วนขา
 
 
=== คะบุโตะ ===
{{ปรับภาษา}}
[[ภาพ:kabuto_detial.jpg|left|200px|thumb|''ส่วนประกอบของคะบุโตะ'']]
[[ภาพไฟล์:kabutokabuto_detial.jpg|left|200px|thumb|''ส่วนประกอบของคะบุโตะ หรือหมวกเกราะ'']]
[[ไฟล์:kabuto.jpg|left|200px|thumb|''คะบุโตะ หรือหมวกเกราะ]]
 
'''คะบุโตะ (兜) ''' คือหมวกเกราะสำหรับสวมใส่ศีรษะเพื่อป้องกันอาวุธคู่กับชุดเกราะของ [[ไดเมียว]] [[แม่ทัพ]] หรือ [[ซามูไร]] สร้างจากแผ่นเหล็กกล้าเช่นเดียวกับชุดเกราะ หมวกเหล็กของเกราะทั้ง 2 ประเภท จะมีความแตกต่างกันในด้านของออกแบบและประดับตกแต่ง ขนาดของคะบุโตะทั้งสองประเภทมีความแตกต่างกันมาก คะบุโตะสำหรับเกราะโยะโรยอาจจะมีขนาดใหญ่โต เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงสถานะของผู้สวมใส่ ซึ่งส่วนประกอบหลักๆ ของคะบุโตะ มีดังนี้
; tehen
; hachi
บรรทัด 82:
 
=== โด ===
[[ภาพไฟล์:dou_yoroi.jpg|left|200px|thumb|''โด หรือเกราะบริเวณลำตัว'']]
 
'''โด (同) ''' คือเกราะในส่วนบริเวณลำตัว
 
=== โอโซะเดะ ===
บรรทัด 90:
 
=== ทสึรุบะชิริ ===
{{โครงส่วน}}
 
=== สึเนะอะเทะ ===
สึเนะอะเทะ (脛当) คือเกราะบริเวณส่วนขา
บรรทัด 97:
 
== ตราประจำตระกูล ==
[[ภาพไฟล์:mon_kabuto.jpg|200px|thumb|''[[มอน]] หรือ ตราประจำตระกูลโตคุกาว่า อิเอยะสึบนคะบุโตะ'']]
[[ภาพไฟล์:Mon.jpg|200px|thumb|''[[มอน]] หรือ ตราประจำตระกูลโอดะ'']]
 
'''“ตราประจำตระกูล”''' ใน [[ญี่ปุ่น]] มีวัตถุประสงค์เดียวกับใน [[ตะวันตก]] กล่าวคือเพื่อให้สามารถจดจำง่ายขึ้นว่า '''“ใครเป็นใคร”''' ในสมรภูมิ การสวมเกราะทั้ง 2 ประเภทนั้นทำให้แต่ละคนและดูเหมือนกันไปหมด ดังนั้นวิธีการที่ จะทำให้สามารถแยกแยะออกว่า ใครเป็นผู้ที่สมควรฆ่าและใครเป็นมิตรจึงเป็น ''เรื่องคอขาดบาดตาย'' และสำคัญยิ่งในการทำศึกสงคราม ในตอนเริ่มแรก ไดเมียวผู้คุมกองทัพจะนำธงรบขนาดใหญ่ที่มีสีสัน เพื่อแสดงให้เห็นถึงความจงรักภักดีของทหารต่อตระกูล และแม้แต่ในยุคแรกๆ ก็ได้มีการพิมพ์ [[มอน]] หรือ [[ตราประจำตระกูล]] ซึ่งมักเป็นรูปสัญลักษณ์ไว้บนธรงรบ หรือประทับไว้บนชุดเกราะ หรือแสดงให้เห็นชัดเจนบนโล่ไม้ขนาดใหญ่
บรรทัด 104:
สำหรับ [[มอน]] หรือ [[ตราประจำตระกูล]] การออกแบบของมอนจะมีความสำคัญมากกว่าการใช้สี ซึ่งแตกต่างไปจากตราประจำตระกูลของ [[ตะวันตก]] และเมื่อตระกูลใดตระกูลหนึ่งเริ่มใช้ [[มอน]] รูปแบบใด ก็จะใช้ไปตลอดโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ในตราประจำตระกูลของ [[ยุโรป]] จะมีการแบ่งเครื่องหมายตราประจำตระกูลออกเป็นครึ่งหนึ่ง หรือเป็นเสี้ยวหนึ่งส่วนสี่ ซึ่งแสดงถึงเปอร์เซ็นต์ของเจ้าของที่มีส่วนในตระกูลนั้น แบบของตราประจำตระกูลจึงมักถูกเปลี่ยนแปลง โดยลูกชายคนแรก คนที่สอง หรือคนที่สามของตระกูล ทำให้กิจกรรมการสร้าง ตราประจำตระกูลกลายเป็นเรื่องที่ซับซ้อน ขณะที่ในญี่ปุ่นสมาชิกทั้งหมดของตระกูลรวมถึงบริวารทั้งหมดจะใช้มอนแบบเดียวกัน
 
ในยุคเซ็นโกคุ การใช้ [[มอน]] ในตระกูลของ [[ซามูไร]] ได้ตั้งหลักปักฐานอย่างมั่นคง ตระกุลโตคุกาว่าใช้ [[มอน]] รูปใบที่มีสามแฉกของต้น '''อะโอะอิ (ต้นฮอลลี่ฮ็อค) ''' อยู่ในวงกลม หลายๆ ตระกูลใช้รูปแบบคล้ายๆ กันแต่เป็นรูป '''โทโมเอะ (รูปคล้ายจุลภาคที่อยู่บนสัญลักษณ์ หยิน-หยาง) ''' [[มอน]] ยังใช้บน [[ซาชิโมโนะ]] หรือ [[ธง]] ที่ติดที่กลางหลังบนชุดเกราะของไดเมียว แม่ทัพและซามูไร และอะชิการุแต่ละคน สีพื้นของธงจะบอกให้รู้ว่าแม่ทัพ ซามูไรหรือทหารคนนั้นสังกัดกองทัพไหน ซามูไรที่มีชื่อเสียงหรือหยิ่งผยองในตนเอง บางครั้งจะพิมพ์ชื่อของตัวเองไว้บนซาชิโมโนะ แทนที่จะเป็นสัญลักษณ์ของตระกูล สัญลักษณ์เหล่านี้ยังมีอยู่บน [[โนโบริ]] หรือธงรบที่ถือโดยคนธงประจำหน่วยนั้นๆ โนโบริเป็นธงยาวแนวตั้งที่มีตัวยึดขวางด้านบนสุด [[มอน]] จะถูกพิมพ์ไว้บนธงชนิดนี้ใกล้ๆ กับส่วนบนสุด ธงโนโบริอื่นๆ อาจจะเขียนคำคมที่เหมาะสมไว้
 
ธงรบที่นำไปกับหน่วยรบและทั้งกองทัพ อาจมีข้อความที่ช่วยปลุกใจแทนที่จะเป็นแค่รูปวาดเฉยๆ ธงอันหนึ่งที่ใช้โดย '''โตคุกาว่า อิเอยะสึ''' มีสโลแกนจากพุทธศาสนาว่า ''“สละซึ่งโลกแห่งกิเลส เพื่อเข้าสู่ดินแดนพิสุทธิ์”''