ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาสนวิหารเฮริฟอร์ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: cy:Eglwys Gadeiriol Henffordd
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
<!---ออกเสียง ''แฮ ระ ฟอร์ด'' - อย่าการันต์ ''ร''--->
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ.ในบทความนี้ -->
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ภาพ:Hereford cathedral 001.JPG|thumb|300px|มหาวิหารแฮรฟอร์ด]]
'''มหาวิหารแฮรฟอร์ด''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Hereford Cathedral) เป็น[[มหาวิหาร]]ตั้งอยู่ที่เมืองแฮรฟอร์ด ใน [[สหราชอาณาจักร]] มหาวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมื่อ ค.ศ. 1079 และเสร็จ เมื่อ ค.ศ. 1535 สิ่งที่สำคัญที่สุดที่เป็นของมหาวิหารคือ “[[แผนที่โลกแฮรฟอร์ด”รฟอร์ด]]” ([[:en:Hereford Mappa Mundi|Hereford Mappa Mundi]]) ซึ่งเป็นแผนที่ที่วาดขึ้นในสมัย[[ยุคกลาง]]จากศตวรรษที่ 13
 
==ประวัติ==
[[ภาพ:Hereford cathedral 032.JPG|thumb|300px|รูปปั้นภายในที่ฝังศพใต้ดิน]]
มหาวิหารอุทิศให้[[นักบุญ]]สององค์คือ[[พระแม่มารี]] และ นักบุญเอเธลเบิร์ต (Saint Ethelbert) ผู้ถูกประหารชีวิตโดย[[พระเจ้าออฟฟาแห่งเมอร์เซีย]] (Offa of Mercia) เมื่อปี ค.ศ. 792 ตามตำนานกล่าวว่าพระเจ้าออฟฟายกพระราชธิดาให้พระเจ้าเอเธลเบิร์ตแต่งงาน แต่ทำไมพระเจ้าออฟฟามาทรงเปลี่ยนพระทัยแล้วกลับมาสังหารพระเจ้าเอเธลเบิร์ตก็ไม่เป็นที่ทราบ ว่ากันว่าการสังหารหรือฆาตกรรมเกิดขึ้น 4 ไมล์จากเมืองแฮรฟอร์ด ที่ซัททัน (Sutton) ร่างของพระเจ้าเอเธลเบิร์ตถูกนำกลับมาที่ในปัจจุบันเป็นมหาวิหาร ตั้งแต่นั้นก็มีปาฏิหาริย์เกิดขึ้นที่ที่ฝังร่างของเอเธลเบิร์ต เมื่อราวปีค.ศ. 830 ขุนนางชาวเมอร์เซียชื่อมิลเฟรด (Milfrid) มีความประทับใจจากเรื่องราวของปาฏิหาริย์ต่างๆ ของนักบุญเอเธลเบิร์ตจึงสร้างวัดทำด้วยหินขึ้นแทนวัดเดิมและอุทิศวัดให้กับนักบุญพระเจ้าเอเธลเบิร์ต
 
กล่าวกันว่าแฮรฟอร์ดเป็นศูนย์กลางเขตการปกครองของบาทหลวงมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 ใน คริสต์ศตวรรษที่ 7 บาทหลวงพัตตา (Putta) ก็ก่อตั้งมหาวิหารขึ้นอีกครั้ง บาทหลวงพัตตามาตั้งหลักแหล่งที่แฮรฟอร์ดหลังจากที่ถูกขับไล่มาจากรอเชสเตอร์ (Rochester) โดยพระเจ้าเอเธลเบิร์ต (อีกพระองค์หนึ่ง) มหาวิหารที่สร้างโดยบาทหลวงพัตตาอยู่มาได้ถึง 200 ปี พอมาถึงสมัย[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ผู้สารภาพ|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ผู้สารภาพ]]ก็ทรงสร้างวัดใหม่แต่อยู่ได้ไม่นานก็ถูกปล้นและเผาเมื่อปีค.ศ. 1056 โดยกองทัพจาก[[เวลส์]] และ [[ไอร์แลนด์]]โดยการนำของ Gruffydd ap Llywelyn เจ้าชายจากเวลส์ อันที่จริงวัดจะมิได้ถูกทำลายแต่ผู้ดูแลวัดต่อต้านอย่างแข็งขันจนพระเสียชีวิตไป 7 องค์ วัดจึงถูกเผา
เส้น 15 ⟶ 14:
มหาวิหารแฮรฟอร์ดอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมจนกระทั่งโรเบิร์ตแห่งลอร์เรน (Robert of Lorraine) ได้รับแต่งตั้งเป็นบาทหลวงของสังฆมณฑลแฮรฟอร์ดเมื่อ ค.ศ. 1079 ท่านก็เริ่มปฏิสังขรณ์วัดและมาทำต่อโดยบาทหลวงเรเนลม (Reynelm) ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยสำหรับแคนนอน “[[การปฏิรูปสถาบันคริสต์ศาสนา |เซ็คคิวลาร์]]” ติดกับมหาวิหาร บาทหลวงเรเนลมสิ้นชีวิตเมื่อค.ศ. 1115 วัดมาสร้างเสร็จเอาระหว่างที่โรเบิร์ต เดอ เบทุน (Robert de Betun) เป็นบาทหลวงระหว่างปีค.ศ. 1131 ถึง 1148
 
ตัววัดที่สร้างตั้งแต่สมัย[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์|โรมาเนสก์]]เหลืออยู่เพียงบริเวณที่ทำพิธีถึง[[หน้าต่างชั้นบน ([[:en:clerestory|clerestory]]) บริเวณกางเขนด้านใต้ (south transept) ซุ้มโค้งระหว่างด้านเหนือของบริเวณกางเขน (north transept) กับที่ทำพิธี และคูหาทางเดินข้างกระหนาบทางสู่แท่นบูชา (nave arcade) เมื่อวัดเพิ่งสร้างเสร็จได้เพียง 50 ปีเมื่อวิลเลียม เดอ เวียร์ (William de Vere) มาเป็นบาทหลวงระหว่างปี ค.ศ. 1186 ถึงปี ค.ศ. 1199 ผู้ขยายทางด้านตะวันออกโดยเพิ่มจรมุขหรือทางเดินขบวนพิธีและ [[:en:Ladyชาเปลพระแม่มารี” Chapel| (Lady Chapel]]” “เลดีชาเปล”) มาสร้างใหม่ไม่นานหลังจากนั้น - ระหว่างปี ค.ศ. 1226 ถึงปี ค.ศ. 1246 - เป็นแบบอังกฤษโดยมีที่ฝังศพอยู่ภายใต้ พอมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็สร้างหน้าต่างชั้นบนใหม่ และอาจจะสร้างเพดานโค้ง ที่ทำพิธีใหม่เพราะทั้งสองอย่างได้รับความเสียหายเมื่อสร้างหอกลางทรุด เมื่ออาควาบลังคา (Bishop Aquablanca) มาเป็นบาทหลวงระหว่างปี ค.ศ. 1240 ถึงปี ค.ศ. 1268 ท่านก็ได้สร้างบริเวณกางเขนทางด้านเหนือใหม่แต่มาเสร็จในสมัยบาทหลวงสวินฟิลด์ (Bishop Swinfield) ผู้เป็นคนสร้างทางเดินสู่แท่นบูชา หรือทางเดินกลางมหาวิหาร และบริเวณกางเขนด้านตะวันออก
 
== บาทหลวงอาควาบลังคา ==
เส้น 28 ⟶ 27:
==แผนที่โลกแฮรฟอร์ด==
<!--- อย่าลบ ''Mappa Mundi'' เพราะเป็นศัพท์เฉพาะมีความหมายพิเศษ --->
[[แผนที่]]โลกแฮรฟอร์ด ([[ภาษาอังกฤษ]]: {{lang-en|Hereford Mappa Mundi}}) ตั้งแสดงอยู่ภายในมหาวิหารใกล้บริเวณที่ทำพิธีซึ่งเชื่อกันว่าเป็นฝีมือของริชาร์ดเดอลาเบลโล (Richard de Bello) ที่เขียนเมื่อราวศตวรรษที่ 13 ว่ากันว่ารูปคนขี่ม้ากับคนรับใช้ตรงมุมขวาของแผนที่คือริชาร์ดเดอลาบาเทยล์ ระหว่างสงครามกลางเมืองที่อังกฤษเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 แผนที่นี้ก็ถูกฝังไม่ไกลจาก Lady Chapel มาจนปีค.ศ.1855 จึงได้นำออกมาซ่อม
 
แผนที่นี้เป็นเอกสารทางแผนที่สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่งในประวัติศาสตร์ที่ยังเหลืออยู่ วาดบนหนังลูกวัวชิ้นเดียวกว้าง 52 นิ้ว ยาว 64 นิ้ว เป็นแผนที่ลักษณะนี้ที่ใหญ่ที่สุดของยุคกลางที่แสดงความคิดทางสถาบัน[[นิกายโรมันคาทอลิก|คาทอลิก]]ว่า[[เยรูซาเล็ม]]เป็นศูนย์กลางของโลก
เส้น 35 ⟶ 34:
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
<references />
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==