ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครีบยันลอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DragonBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: vls:Luchtboge
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Lincoln cathedral 06 Chapterhouse.jpg|right|thumb|250px|กำแพงค้ำยันแบบปึกนอกหอประชุมสงฆ์ที่[[มหาวิหารลิงคอล์น]]]]
[[ภาพ:bath.abbey.flying.buttresses.arp.jpg|thumb|250px|กำแพงค้ำยันแบบปึกที่[[มหาวิหารบาธ]]ที่[[อังกฤษ]] 5 ใน 6 ค้ำยันที่เห็นรับน้ำหนักทางเดินกลาง (nave) อันที่ 6 รับน้ำหนักแขนกางเขน (transept)]]
เส้น 12 ⟶ 11:
บางครั้งเมื่อเพดานสูงมากๆ สถาปนิกก็จะใช้ค้ำยันปีกซ้อนกันสองชั้นหรือบางครั้งการจ่ายน้ำหนักก็จะกระจายออกไปกับค้ำยันสามสี่อัน ตามปกติแล้วน้ำหนักของค้ำยันก็จะเพิ่มน้ำให้กับตัวอาคารพอสมควร ฉะนั้นค้ำยันจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างที่สำคัญ การใช้ค้ำยันดิ่งเป็นระยะๆ ทำให้เพิ่มการรับน้ำหนักและแรงกดทับได้ดีขึ้นกว่าที่จะสร้างตลอดแนวกำแพง ค้ำยันดิ่งที่ใช้ในการก่อสร้าง [[มหาวิหารลิงคอล์น]] [[เวสท์มินสเตอร์แอบบี]]อยู่ภายนอกหอประชุมสงฆ์ ค้ำยันดิ่งมักจะใช้ยอดแหลม (pinnacle) เพื่อช่วยเพิ่มแรงต่อต้านของสิ่งก่อสร้าง
 
วิธีการก่อสร้างนี้ถูกนำไปใช้โดยสถาปนิกชาวแคนาดาวิลเลียม พี แอนเดอร์สันในการสร้าง[[ประภาคาร]]เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>Russ Rowlett, [http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/types/buttressed.htm Canadian Flying Buttress Lighthouses], in [http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/index.htm ''The Lighthouse Directory''].</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
เส้น 20 ⟶ 23:
* [[สถาปัตยกรรมกอธิค]]
 
[[หมวดหมู่:ส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างคริสต์ศาสนสถาน]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมตะวันตก]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมกอธิค]]