ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องบินสกัดกั้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
 
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
<small></small>[[Imageไฟล์:DD-ST-85-06520.JPEG|thumb|[[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25|มิก-25 'ฟอกซ์แบท']]เป็นเครื่องบินสกัดกั้นของ[[รัสเซีย]]ซึ่งเป็นเสาหลักในการป้องกันทางอากาศของ[[โซเวียต]]]]
 
'''เครื่องบินสกัดกั้น''' เป็น[[เครื่องบินขับไล่]]ที่ออกแบบมาเพื่อทำการสกัดกั้นและทำลาย[[อากาศยาน]]ของข้าศึกโดยเฉพาะ[[เครื่องบินทิ้งระเบิด]] โดยปกติแล้วมักมีจุดเด่นเป็นความเร็วสูง เครื่องบินแบบนี้จำนวนมากเริ่มผลิตในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]และสิ้นสุดลงในปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อพวกมันมีความสำคัญน้อยลงเพราะมีการนำ[[ขีปนาวุธข้ามทวีป]]มาทำหน้า[[การทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์]]
บรรทัด 11:
 
===ป้องกันเฉพาะบริเวณ===
[[Imageไฟล์:Lightning.inflight.arp.750pix.jpg|thumb|right|[[อิงลิช อิเลคทริก ไลท์นิ่ง]]]]
 
เครื่องบินสกัดกั้นป้องกันเฉพาะจุด โดยเฉพาะในยุโรป ถูกออกแบบมาเพื่อป้องกันเป้าหมายเฉพาะจุด พวกมันถูกออกแบบมาเพื่อวิ่งขึ้นและไต่ระดับให้ได้รวดเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้เพื่อเข้าทำลายเครื่องบินทิ้งระเบิดศัตรู
 
เมื่อเริ่ม[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]เครื่องบินขับไล่หนึ่งเครื่องยนต์ส่วนใหญ่นั้นมีเชื้อเพลิงที่น้อยเกินไป พวกมันไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นเครื่องบินสกัดกั้น แต่บทบาทคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดพิสัยไกลนั้นก็ไม่ได้มีการคาดการเอาไว้เช่นกัน สิ่งนี้ได้พิสูจน์ถึงปัญหาร้ายแรงสำหรับเครื่องบินขับไล่หนึ่งเครื่องยนต์ของเยอรมนีในยุทธการบริเตน ซึ่งสามารถคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดข้ามช่องแคบอังกฤษได้ แต่มีเชื้อเพลิงไม่มากพอในการต่อสู้และบินกลับฐานในฝรั่งเศส ด้วยเหตุนี้เองฝ่ายอังกฤษจึงไม่ค่อยมีปัญหาในการป้องกันนัักนัก
 
เมื่อกองบัญชาการกองบินทิ้งระเบิดของอังกฤษเริ่มทำการทิ้งระเบิดใส่เยอรมนี ภารกิจส่วนใหญ่คือการบินในตอนกลางคืน โดยไร้การคุ้มกัน หรือคุ้มกันโดยเครื่องบินขับไล่กลางคืน เมื่อสงครามดำเนินต่อไปกองบัญชาการกองบินทิ้งระเบิดได้ทำการบินมากขึ้นในตอนกลางวัน [[ซูเปอร์มาริน สปิตไฟร์|สปิตไฟร์]]ถูกใช้ในบทบาทอื่น เครื่องจักรที่เก่ากว่าถูกนำไปทำหน้าที่ขับไล่ทิ้งระเบิด ทำงานในแนวหน้า ในขณะที่เครื่องจักรที่ใหม่กว่าทำหน้าที่ในการสกัดกั้น ต่อมาเครื่องสปิตไฟร์ก็เปลี่ยนมาใช้เครื่องยนต์ของ[[โรลส์-รอยซ์]]และทำหน้าที่สกัดกั้น[บจรวด วี1]] และเครื่องบินทิ้งระเบิดของเยอรมนี แบบที่ใหม่กว่าอย่าง[[ฮอว์คเกอร์ แอร์คราฟท์|ฮอว์คเกอร์]] [[ฮอว์คเกอร์ เทมเพสท์|เทมเพสท์]]และ[[พี-51 มัสแตง]]ได้เข้ามาทำหน้าที่เครื่องบินขับไล่พิสัยไกล
บรรทัด 21:
เยอรมนีที่สูญเสียความสามารถทางอากาศของพวกเขาอย่างรวดเร็วเหนือเขตแดนของศัตรูในที่สุดก็หมดเครื่องบินขับไล่พิสัยไกลของพวกเขา พวกเขายังคงใช้บีเอฟ 109 ตลอดสงคราม ถึงแม้ว่ามันจะพัฒนามาจากเครื่องบินทิ้งระเบิดก็ตาม เยอรมนีขาดทรพยากรอย่างมากในการสร้างเครื่องบินสกัดกั้นและฝ่ายอเมริกาก็โจมตีพวกเขาทั้งกลางวันและกลางคืน เมื่อการทิ้งระเบิดมากขึ้นโดยเฉพาะในปีพ.ศ. 2487 กองทัพอากาศเยอรมันได้พยายามใช้การออกแบบใหม่มากมายอย่าง[[เมสเซอร์สมิต เอ็มอี 163]] และแม้กระทั่งเครื่องบินสกัดกั้นพิสัยสั้นอย่าง[[แบกเฮม บีเอ 349]] ส่วนใหญ่แล้วพวกมันใช้งานยากและมีผลต่อการทิ้งระเบิดน้อยมาก
 
[[Imageไฟล์:KampfflugzeugF-8China.jpg|thumb|right|[[เช็งยาง เจ-8]]]]
[[Imageไฟล์:F8J TU95 CV34.JPEG|thumb|right|[[เอฟ-8 ครูเซเดอร์]]เข้าสกัดกั้น[[ตูโปเลฟ ตู-95]]]]
 
ใน[[สงครามเย็น]]เครื่องบินทิ้งระเบิดถูกคาดว่าจะเข้าโจมตีด้วยความสูงและความเร็วเหนือเสียง สิ่งนี้ทำให้การออกแบบเครื่องบินขับไล่เน้นไปที่การเร่งความเร็วและเพดานบินอย่างการผสมเครื่องยนต์จรวดเข้ากับเครื่องยนต์ไอพ่น แม้ว่าพวกมันจะไม่ได้ใช้งานก็ตาม การพัฒนาของเครื่องยนต์ไอพ่นทำให้จรวดหมดประโยชน์ไป และการออกแบบรุ่นใหม่ก็เป็นเครื่องยนต์ไอพ่นล้วนๆ รวมทั้ง[[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21|มิก-21]] [[อิงลิช อิเลคทริก ไลท์นิ่ง]] และ[[เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์]] เครื่องบินชนิดนี้ทำให้เครื่องบินชนืดอื่นๆ เริ่มลดบทบาทมารวมกันเป็นเครื่องบินที่มีหลากบทบาทแทนและนั้นทำให้ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเครื่องบินเฉพาะทางอีกต่อไป
บรรทัด 35:
* [[เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์]]
 
{{โครงทหาร}}
[[หมวดหมู่:อากาศยานทางการทหาร]]
[[หมวดหมู่:เครื่องบินสกัดกั้น]]
{{โครงทหาร}}