ไม่ล้าสมัย
(ไม่ล้าสมัย) |
|||
{{ความหมายอื่น||คดีในปี พ.ศ. 2549|คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549}}
คดียุบพรรคการเมือง[[ พ.ศ. 2551]] เป็นคดีที่เป็นคดีที่[[พรรคชาติไทย]] [[พรรคมัชฌิมาธิปไตย]][[ พรรคพลังประชาชน]] (2 ใบแดง)ถูกฟ้องเป็นจำเลยอันเนื่องมาจากกรณีทุจริต[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550]]ส่วนข้อกล่าวหากรณีที่[[พรรคพลังประชาชน]]เป็นนอมินีหรือตัวแทนของ[[พรรคไทยรักไทย]]ซึ่งได้ถูกตัดสินให้ยุบพรรคไปแล้วเมื่อ พ.ศ. 2550 คณะกรรมการเลือกตั้งสรุปว่าปรากฏหลักฐานเพียงพอที่พรรคพลังประชาชนเข้าข่ายเป็นตัวแทนของพรรคไทยรักไทย แต่ได้ยกคำร้องเพราะไม่มีกฎหมายเอาผิด
==สรุปคำวินิจฉัยของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ==
เวลา 12.00-13.32 น. วันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]] คณะ[[ตุลาการรัฐธรรมนูญ]]อ่านคำวินิจฉัยกรณีอัยการสูงสุดมีคำร้องให้ยุบ[[พรรคพลังประชาชน ]][[พรรคชาติไทย]] และ[[พรรคมัชฌิมาธิปไตย]]โดยมีคำสั่งให้ยุบพรรคทั้ง 3 พรรค รวมทั้งเพิกถอนสิทธิการเลือกตั้งต่อกรรมการบริหารพรรคเป็นจำนวน 37 คน, 43 คน, และ 29 คน ตามลำดับ มีกำหนด 5 ปี นับตั้งแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญคำสั่งให้ยุบพรรคสามารถสรุปได้ดังนี้
สำหรับกรณีของ[[พรรคพลังประชาชน]] นั้น [[ตุลาการรัฐธรรมนูญ ]] ระบุว่ากรณีที่นาย[[ยงยุทธ ติยะไพรัช]] อดีตรองหัวหน้าพรรคกระทำการฝ่าฝืนและขัดต่อ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550 ที่มีผลทำให้การเลือกตั้งไม่เป็นไปโดยสุจริต และได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองที่ไม่เป็นไปตามวิถีทางของ[[รัฐธรรมนูญ]] ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่พรรคและคณะกรรมการบริหารพรรคคนอื่นๆ ต้องร่วมรับผิดชอบ
อย่างไรก็ดี ในส่วนข้อโต้แย้งของพรรคมัชฌิมาธิปไตยเกี่ยวกับสถานะภาพการเป็นกรรมการบริหารพรรคนั้น ศาลวินิจฉัยแล้วเห็นว่าแม้นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ จะได้ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรคไปตั้งแต่วันที่ [[4 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2550]] อันจะมีผลให้กรรมการบริหารพรรคต้องพ้นสภาพไปด้วยก็ตาม แต่ยังมีข้อกำหนดที่ให้กรรมการบริหารพรรคต้องทำหน้าที่รักษาการต่อไปจนกว่านายทะเบียนพรรคการเมืองจะตอบรับการเปลี่ยนแปลง
ดังนั้น จึงถือว่านายสุนทร ยังคงทำหน้าที่เป็นกรรมการบริหาร[[พรรคมัชฌิมาธิปไตย
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*
*
*
== อ้างอิง ==
|