ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเข้มข้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19:
 
ปริมาตรของของเหลวสามารถพิจารณาได้จากภาชนะเครื่องแก้วอย่างเช่น[[บิวเรตต์]]หรือ[[ฟลาสก์]]วัดปริมาตร สำหรับปริมาตรขนาดเล็กอาจใช้กระบอกฉีดยาแทนได้ การใช้[[บีกเกอร์]]หรือ[[กระบอกตวง]]ไม่เป็นที่แนะนำ เนื่องจากระดับขีดบอกปริมาตรส่วนใหญ่มีไว้เพื่อตกแต่งมากกว่าจุดประสงค์เพื่อวัดเชิงปริมาณ ซึ่งอาจให้ผลที่ไม่แม่นยำ ปริมาตรของของแข็งอาจยากในการวัด โดยเฉพาะสสารที่เป็นผง ในกรณีนี้การวัดโดยมวลจึงเหมาะสมกว่า ปริมาตรของแก๊สนั้นสามารถวัดได้ในบิวเรตต์แก๊ส แต่ก็ต้องระมัดระวังในเรื่องของความดัน แต่ไม่สามารถวัดได้โดยง่ายจากมวลเนื่องจากแก๊สมีแรงลอยตัว
 
=== ความเข้มข้นโดยโมล ===
{{บทความหลัก|ความเข้มข้นโดยโมล}}
ความเข้มข้นโดยโมลหรือโมลาริตี (molarity) คือความเข้มข้นที่คิดจากจำนวน[[โมล]]ของสสารที่กำหนด เทียบกับปริมาตรเป็น[[ลิตร]]ของสารละลาย มีหน่วยเป็นโมลต่อลิตร (mol/L) หรือโมลาร์ (molar) เขียนย่อด้วยอักษร M ตัวใหญ่ นั่นคือ
 
{| style="text-align: center; margin: 0px auto;"
|-
| rowspan="2" | ความเข้มข้นโดยโมล (mol/L) =
| จำนวนโมลของสสาร (mol)
|-
| style="border-top: 1px solid black;" | ปริมาตรเป็นลิตรของสารละลาย (L)
|}
 
 
[[หมวดหมู่:เคมีวิเคราะห์]]