ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากแหว่งเพดานโหว่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 47:
 
== เพดานโหว่ ==
'''เพดานโหว่''' เป็นภาวะที่แผ่นกระดูกของ[[กะโหลกศีรษะ]] 2 แผ่นไม่เชื่อมกันที่ประกอบเป็น[[เพดานแข็ง]] 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน อาจมีช่องโหว่ของ[[เพดานอ่อน]]ได้ด้วยเช่นกัน ผู้ป่วยส่วนมากมักมีปากแหว่งร่วมด้วย เพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิดมีชีพ 700 คนทั่วโลก<ref>{{cite web |url=http://www.wrongdiagnosis.com/c/cleft_palate/stats-country.htm |title=Statistics by country for cleft palate |accessdate=2007-04-24 |work=WrongDiagnosis.com }}</ref>
 
เพดานโหว่แบ่งออกเป็นชนิดสมบูรณ์ (คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย) หรือชนิดไม่สมบูรณ์ (คือมีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน) ผู้ป่วยเพดานโหว่มักมี[[ลิ้นไก่]]แฉก เพดานโหว่มีสาเหตุมาจากความบกพร่องของการเชื่อมของ[[ส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง]] (lateral palatine processes) , [[ผนังกลางจมูก]] (nasal septum) , และ/หรือ[[ส่วนยื่นเพดานปากกลาง]] (median palatine processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากทุติยภูมิ]] (secondary palate)
 
ช่องที่เพดานปากที่เกิดจากเพดานโหว่ทำให้ช่องปากเชื่อมโดยตรงกับ[[โพรงจมูก]]
The hole in the roof of the mouth caused by a cleft connects the mouth directly to the [[nasal cavity]].
 
ภาพต่อจากนี้แสดงเพดานปาก โดยด้านบนของภาพคือจมูก ริมฝีปากแสดงด้วยสีชมพู โดยภาพดังกล่าวจะไม่แสดงฟันเพื่อให้เห็นโครงสร้างเพดานโหว่ชัดเจน
 
Note: the next images show the roof of the mouth. The top shows the nose, the lips are colored pink. For clarity the images depict a toothless infant.
<center>
<gallery>
ไฟล์:Cleftpalate3.png|เพดานโหว่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete cleft palate)
ไฟล์:Cleftpalate1.png|ปากแหว่งเพดานโหว่ข้างเดียวสมบูรณ์ (Unilateral complete lip and palate)
ไฟล์:Cleftpalate2.png|ปากแหว่งเพดานโหว่สองข้างสมบูรณ์ (Bilateral complete lip and palate)
</gallery>
</center>
 
A direct result of an open connection between the [[oral cavity]] and [[nasal cavity]] isผลจากการมีช่องเชื่อมระหว่างช่องปากและโพรงจมูกคือ '''velopharyngeal insufficiencyเพดานอ่อนและคอหอยบกพร่อง''' ([[velopharyngeal inadequacy|VPI]]). Because of the gapinsufficiency, airvelopharyngeal leaksinadequacy; intoVPI) the nasal cavity resulting in aช่องดังกล่าวทำให้อากาศรั่วไปยังโพรงจมูกทำให้เมื่อพูดจะเกิดเสียงก้องขึ้นจมูก hypernasalและเกิด [[voice]]nasal [[resonanceemission]] and(อากาศจากปากผ่านช่องเพดานปากระหว่างการออกเสียงพยัญชนะที่ต้องอาศัยความดันในปาก) nasal emissions.<ref name="Sloan">{{cite journal |author=Sloan GM |title=Posterior pharyngeal flap and sphincter pharyngoplasty: the state of the art |journal=Cleft Palate Craniofac. J. |volume=37 |issue=2 |pages=112–22112–22 |year=2000 |pmid=10749049 |doi=10.1597/1545-1569 (2000) 037<0112:PPFASP>2.3.CO;2}}</ref> Secondaryผลตามมาจากอาการดังกล่าวทำให้ออกเสียงไม่ชัด effectsเช่น ofเสียงเพี้ยน VPIและต้องออกเสียงแบบอื่นชดเชย include speechเช่น ใช้[[articulation]]เสียงกัก errors (e.g., [[distortionsเส้นเสียง]], substitutions, and omissions) and compensatory misarticulations (e.g., หรือ[[glottal stopเสียงเสียดแทรก]]s and posterior nasal [[fricative]]s).หลังโพรงจมูก<ref>Hill, J.S. (2001). Velopharyngeal insufficiency: An update on diagnostic and surgical techniques. Current Opinion in Otolaryngology and Head and Neck Surgery, 9, 365-368.</ref>. Possible treatment options include ทางเลือกในการรักษาคือ[[speech therapyการบำบัดวจีเภท]], prosthetics,(speech augmentationtherapy) of the posterior pharyngeal wall, lengthening of the palate, and การใช้[[Pharyngealกายอุปกรณ์|อุปกรณ์เทียม]], flapการเสริมผนังหลังคอหอย, surgery|surgicalการเพิ่มความยาวเพดานปาก procedures]].และการผ่าตัด<ref name="Sloan" />
 
'''เพดานโหว่ใต้ชั้นเยื่อเมือก''' (Submucous cleft palate; SMCP) อาจเกิดขึ้นได้ โดยมีลักษณะเพดานโหว่ซ่อนอยู่ในส่วนเพดานอ่อน ร่วมกับมีอาการสามอย่างได้แก่ลิ้นไก่ 2 แฉก, มีรอยบากที่เพดานแข็งและโซนา เพลลูซิดา (zona pellucida)
'''Submucous cleft palate''' (SMCP) can also occur, which is an occult cleft of the soft palate with a classic clinical triad of bifid uvula, notching of the hard palate, and zona pellucida.
 
== อ้างอิง ==