ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชิงชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
+ อ้างอิง + ลิงก์ + ลบภาพเสีย
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
 
{{Taxobox
| color = lightgreen
| name = ชิงชัน
| image = Chingchantr.jpg
| regnum = [[Plant]]ae
| divisio =
เส้น 17 ⟶ 14:
}}
 
'''ชิงชัน''' เป็นชื่อของ[[ต้นไม้ยืนต้น]]ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ประเภท[[ผลัดใบ]]ที่อยู่ในวงศ์ LEGUMINOSAE ชนิดหนึ่งซึ่งก็คือต้นไม้ที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับ [[ต้นประดู่]] นั่นเอง
<!--
{{กล่องข้อมูล ต้นไม้
|ชื่อทั่วไป = ชิงชัน
|ภาพ = [[ภาพ:Chingchantr.jpg‎|100px]]
|ชื่อสามัญ = Rosewood
|ชื่อวิทยาศาสตร์ = Dalbergia oliveri Gamble & Prain
|วงศ์= LEGUMINOSAE
|ชื่ออื่นๆ = ประดู่ชิงชัน ดูสะแดน
|ถิ่นกำเนิด = ป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณทั่วไป ยกเว้น[[ภาคใต้]]
|ประเภท = ไม้ยืนต้น
|รูปร่างลักษณะ = ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 15 – 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลอมเทา ล่อนเป็นแว่น ๆ
<br>ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 11 –17 ใบ เรียงสลับบน
<br>แกนกลาง แผ่นใบย่อยรูปรีแกมรูปไข่ปลายคี่ กว้าง 1 – 4 เซนติเมตร
<br>ยาว 4 – 8 เซนติเมตร โคนและปลายมน ผิวใบด้านล่างสีจางกว่าด้านบน
<br>ดอก เป็นดอกเล็ก สีขาวแกมม่วง ออกดอก มีนาคม – พฤษภาคม
<br>ผล เป็นฝักแบน ๆ รูปหอกหัวท้ายแหลม กว้าง 3 – 3.5 เซนติเมตร ยาว
<br>8 – 17 เซนติเมตร เมล็ด มี 3 เมล็ด อยู่ในแต่ละฝักฝักแก่ พฤษภาคม – กันยายน
|การขยายพันธุ์ = ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด
|สภาrที่เหมาะสม = ดินทุกชนิด เป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการน้ำปานกลาง ขึ้นอยู่ตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณทั่วไป เว้นภาคใต้ สูงจากระดับน้ำทะเล 100 – 500 เมตร
|ประโยชน์ = เนื้อไม้ แข็ง เหนียว มีความทนทานมาก ใช้ทำเครื่องเรือน ส่วนประกอบ เกวียน พานท้ายปืน เครื่องดนตรี เช่น ขลุ่ย ซอ จะเข้ ลูกระนาด กลอง โทน รำมะนา กรับ ขาฆ้องวง
}}-->
 
'''ชิงชัน''' เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ประเภทผลัดใบที่อยู่ในวงศ์ LEGUMINOSAE ชนิดหนึ่งซึ่งก็คือต้นไม้ที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับ ต้นประดู่ นั่นเอง
 
ต้นไม้ชนิดนี้ขยายพันธุ์โดยเมล็ดและก็สามารถแพร่กระจายพันธุ์ตามป่าดิบแล้งตลอดจนถึงป่าเบญจพรรณทั่วไปยกเว้นเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้นที่ไม่สามารถแพร่กระจายพันธุ์ได้เป็นไม้กลางแจ้งที่สามารถขึ้นได้ดีในดินทุกประเภทและต้องการน้ำเพียงปานกลาง
เส้น 45 ⟶ 20:
ลักษณะของต้นไม้โดยรวม เปลือกจะมีความหนาซึ่งเป็นสีน้ำตาลอมเทาสามารถล่อนออกเป็นแว่นๆได้และมีเนื้อภายในเป็นสีเหลือง ใบนั้นจะเป็นใบประกอบแบบขนนก ดอกมีขนาดเล็กที่รวมกันเป็นช่อ ฝักเป็นรูปหอกแต่แบนส่วนหัวท้ายของฝักนั้นจะแหลม ส่วนระบบรากนั้นจะมีความลึกมาก
 
เนื่องจากไม้ชิงชันนั้นมีลักษณะที่แข็งและเหนียวรวมถึงมีลักษณะที่ดูสวยงามมากดังนั้นจึงนิยมนำมาทำเป็น [[เครื่องเรือน]] , [[เครื่องดนตรี]]ต่างๆ ฯลฯ นอกจากประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมพื้นบ้านแล้วต้นไม้ชิงชันยังให้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรอีกด้วย
 
[[ภาพ:Chingchan.jpg|thumb|ภาพดอกชิงชัน]]
== อ้างอิง ==
[[ภาพ:Chingchantr.jpg‎|thumb|ภาพต้นชิงชัน]]
* [http://www.dnp.go.th/EPAC/province_plant/nongkhai.htm ชิงชัน] ต้นไม้พระราชทาน
 
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด]]
[[หมวดหมู่:ดอกไม้ประจำจังหวัด]]
{{ดอกไม้ประจำจังหวัด}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}
 
{{โครงพืช}}
[[หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด]]
[[หมวดหมู่:ดอกไม้ประจำจังหวัด]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชิงชัน"