ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| industry = [[สื่อ]]
| products = สื่อ[[เพลง]][[ดนตรี]] สื่อ[[โทรทัศน์]] สื่อ[[สิ่งพิมพ์]] สื่อ[[วิทยุ]] สื่อ[[ภาพยนตร์]] สื่อ[[ดิจิตอล]] [[ละครเวที]] อีเวนต์ อื่นๆ
| revenue = 2 7,139.1317 ล้านบาท ปี 2550 <br>(กำไรสุทธิอ้างอิง 143.7 ล้านบาท)<ref name="รายได้">[http://www.bangkokbiznewssettrade.com/2008/11/14/news_311684C04_03_stock_companyhighlight_p1.phpjsp?txtSymbol=GRAMMY&selectPage=3 รายงานผลประกอบการ แกรมมี่เผยเพลง-อีเว้นท์รุ่งดันกำไรโต43%ของบมจ]</ref>
| homepage = [http://www.gmmgrammy.com/ www.gmmgrammy.com]
}}
'''บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ''' ({{lang-en|GMM Grammy Public Company Limited}}) เป็นบริษัทใน[[ประเทศไทย]] ทำธุรกิจเกี่ยวกับ[[ดนตรี]] และ[[ภาพยนตร์]] ร่วมกับ[[จีเอ็มเอ็ม มีเดีย]] ทำในด้านสื่อและบันเทิงครบวงจร ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย[[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] และ[[เรวัต พุทธินันทน์]] เมื่อ [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2526]] จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นองค์กรสื่อบันเทิงยักษ์ใหญ่อันดับ 1 ของประเทศ มีรายได้ในปี 2551 ประมาณ 2,000 ล้านบาท และมีกำไรสุทธิ 140 ล้านบาท <ref name="รายได้" />
 
ในปี 2548 แกรมมี่ได้มีเหตุการณ์พยายามเข้าซื้อ[[มติชน]] ซึ่งการซื้อกิจการสื่อในครั้งนี้จะเป็นการแทรกแซงจากฝ่ายการเมือง<ref name="takeover" />
 
== ประวัติ ==
[[ภาพ:Buildinggmm.jpg‎|thumb|600px|อาคาร จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ เพลส ]]
 
กำลังอยู่ในช่วงปรับปรุงข้อมูล เนื่องจากมีผู้ไม่ประสงค์ดีพยายามให้ข้อมูลที่บิดเบือน ให้องค์กร
จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ก่อตั้งโดย[[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] และ[[เรวัต พุทธินันทน์]] ในชื่อ แกรมมี่ เอนเตอร์เทนเมนต์ เมื่อ [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2526]] โดยความร่วมมือจาก[[บุษบา ดาวเรือง]] และ [[นิติพงษ์ ห่อนาค]] และได้กลายมาเป็น[[บริษัทมหาชน]]ในปี พ.ศ. 2537 ซึ่งต่อมาได้แยกบริษัทด้านสื่อเฉพาะในชื่อ [[จีเอ็มเอ็ม มีเดีย]]
และกำลังสืบหาตัวผู้กระทำการดังกล่าว
{{โครงส่วน}}
โดย ทีมฝ่ายกฎหมายของบริษัท จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอลโดเมน จำกัด ร่วมกับผู้ให้บริการเกตเวย์ภายในประเทศ
 
 
== กลุ่มธุรกิจและบริษัทในเครือ ==
 
=== ดนตรี ===
ในด้านธุรกิจดนตรี แกรมมี่คือค่ายเพลงอันดับ1ของประเทศไทย ผู้ครองตลาดเพลงเป็นอันดับ 1 คือ 70% ของตลาดเพลงในประเทศ {{อ้างอิง}} มีบทเพลงที่ถูกสร้างสรรค์โดยแกรมมี่มาแล้ว มากกว่า 1 หมื่นเพลง
; ค่ายเพลง
* [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]]
* [[แกรมมี่โกลด์]]
* [[จีนี่ เรคคอร์ดส]]
* [[อัพ^จี]]
* [[มอร์ มิวสิก]]
* [[มีฟ้า]]
* [[สนามหลวงการดนตรี]]
* [[Grammy BIG]]
* [[เวิร์กแก้งค์]]
* จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อินเตอร์เนชั่นแนล - บริหารส่งออกศิลปิน และนำเข้าศิลปินจากต่างประเทศ
* [[ลักษ์มิวสิก]]
 
; บริษัทผลิตและจัดจำหน่าย
* [[เอ็มจีเอ]] (MGA)
* ร้านอิมเมจิน
 
; บริษัทบริหารลิขสิทธิ์
* จีเอ็มเอ็ม มิวสิก พับลิชชิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล
* คลีน [[คาราโอเกะ]] (แกรมมี่คาราโอเกะ)
 
; การแสดงและคอนเสิร์ต
* [[จีเอ็มเอ็ม ไลฟ์]] (GMM Live) - บริษัทโปรดักชั่นคอนเสิร์ต
 
; งานบริหารศิลปิน
* อาราทิส (Aratist)
* คลับ เอฟ
 
; ธุรกิจต่างประเทศ
* [[เอสเอ็ม เอนเตอร์เทนเม้นท์]] (SM Entertainment) ค่ายเพลงเกาหลีใต้ โดยจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ถือหุ้นใหญ่เป็นอันดับ 2
 
; อีเวนต์แมเนจเมนต์ และ โชว์บิซ
* [[อินเด็กซ์ อีเวนต์เอเจนซี่]] (Index Event) บริษัทจัดอีเวนต์อันดับ 13 ของโลก อันดับ 4 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของสหรัฐอเมริกาปี 2007 {{อ้างอิง}}
* อีเวนต์ เอเชีย
* มีเดีย วิชั่น
* มาสเตอร์ เอฟเฟ็กต์ส
* มาสเตอร์ บีม
* เทนเยียร์ อาฟเตอร์ สตูดิโอ
* อีเวนต์ โซลูชั่น
* วิชั่น 20 สตูดิโอ
* เทรเบียง
* แอสเพ็น อินเด็กซ์ อีเวนต์ จำด
 
=== ภาพยนตร์ ===
* [[จีเอ็มเอ็ม ไท หับ]]หรือ จีทีเอช (GTH)
* ที่ฟ้า (tifa)
* ฟีโนมีน่า โมชั่นพิคเจอร์ (ผลิตภาพยนตร์ ผลิตโฆษณาออกอากาศ)
* อัพเพอร์ คัท (รับผลิตโฆษณาออกอากาศให้กับสินค้าต่างๆ)
 
=== ธุรกิจดิจิตอล ===
* จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน [GMM'D] เป็นผู้บริหาร ให้บริการ ดิจิตอลคอนเทนต์ รายใหญ่ที่สุดในเมืองไทย
* เว็บไชต์
** ดาราโอเกะ ดอตคอม Daraoke
** เว็บไชต์ จีเม็มเบอร์ ดอตคอม Gmember Gmember เว็บไชต์ให้บริการคอนเทนต์รายใหญ่ที่สุดในเมืองไทย จำนวนผู้เข้าชมเฉลี่ย 100,000 คน ต่อวัน (ข้อมูล2551)
** เว็บไชต์ ไอคีย์คลับ คอทคอม IkeyClub เปิดบริการจำหน่าย ดาวน์โหลด เพลง และ มิวสิกวีดีโอ ออนไลน์ ผ่านอินเทอร์เน็ต และมือถือ
** "Iradio" วิทยุออนไลน์ ภาพและเสียง อินเตอร์เอ๊กทีฟ แบบดิจิตอล บนอินเทอร์เน็ต แห่งแรกของเมืองไทย
 
=== ธุรกิจด้านสื่อ ===
{{บทความหลัก|จีเอ็มเอ็ม มีเดีย}}
 
== บุคลากรสำคัญ ==
 
; [[เรวัต พุทธินันทน์]] : ผู้บุกเบิกเพลงไทยสากลสมัยใหม่ให้กับประเทศไทย แนวเพลงสตริงสมัยใหม่ที่คนไทยได้ยินมาจนถึงทุกวันนี้ โปรดิวเซอร์นักดนตรี ผู้ที่มีความสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ให้วงการเพลงไทย เป็นผู้ก่อตั้ง แกรมมี่ เอนเตอร์เม้นท์ ร่วมกับ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม จนกลายมาเป็น จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มาจนปัจจุบัน
 
; [[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] (อากู๋) หรือ พี่บูลย์ : ผู้ก่อตั้งแกรมมี่ ร่วมกับ [[เรวัต พุทธินันทน์]] ไพบูลย์ผู้สานต่อและสร้างอาณาจักรให้แกรมมี่ จนยิ่งใหญ่มาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันคือประธานใหญ่ เจ้าของกลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นนักธุรกิจแนวหน้าชั้นนำของวงการ และเป็นอภิมหาเศรษฐีหมื่นล้านระดับประเทศ
 
; [[บุษบา ดาวเรือง]] (เล็ก): ผู้ร่วมก่อตั้งแกรมมี่ มาจนถึงทุกวนนี้ ปัจจุบัน เป็น CEO มือขวาของ [[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]]
 
; [[นิติพงษ์ ห่อนาค]] (ดี้) : นักแต่งเพลงคนดังของแกรมมี่ เป็นนักแต่งเพลงมือ1ของเมืองไทย มีบทเพลงที่เป็นที่ได้รับความนิยมหลายร้อยเพลง เป็นที่ติดหูคนไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานธุรกิจเพลง จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่
 
; [[ธงไชย แมคอินไตย์]] (เบิร์ด): ก้าวสู่การเป็นศิลปินจากการชักชวนของ [[เรวัต พุทธินันทน์]] อยู่ในวงการเพลงมายาวนานกว่า 20 ปี มีผลงานทั้งมากมาย มียอดขายอัลบัมรวมกันทุกอัลบั้มมากกว่า20ล้านชุด เป็นขวัญใจของมหาชนชาวไทยมายาวนาน
 
; [[สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา]] (ฉอด): เป็นผู้เข้ามาริเริ่มสื่อวิทยุให้เครือแกรมมี่ เมื่อตั้งแต่แรกเริ่ม ฉายาเจ้าแม่วงการวิทยุเมืองไทย ปัจจุบันเป็นผู้บริหาร CEO ของจีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำกัด มหาชน และผู้กุมบังเหียน เอไทม์ มีเดีย
 
; [[ถกลเกียรติ วีรวรรณ]] (บอย) : เริ่มงานแรกในตำแหน่งโปรดิวเซอร์ละครโทรทัศน์ กับแกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ สร้างสรรค์ผลงานมามากมาย ก่อตั้ง บริษัท เอ็กแซ๊กท์ จำกัด ผลิตผลงานละครออกสู่สายต่อประชาชนมายาวนานมากกว่าสิบปี ก่อตั้ง บริษัท ซีเนริโอผลิตรายการทีวีละคร ซิทคอม ครเวที ได้รับฉายา เจ้าพ่อละครเมืองไทยปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการ จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำกัด มหาชน กรรมการผู้จัดการ บริษัท [[เอ็กแซ็กท์]] จำกัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีนทอล์ค จำกัด และกรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีเนริโอ จำกัด
 
=== บุคคลเบื้องหลังการทำเพลง ===
นักแต่งเพลง นักดนตรี โปรดิวเซอร์ผู้มีชื่อเสียงในวงการเพลง ของแกรมมี่ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
{{บน}}
* เต๋อ [[เรวัต พุทธินันทน์]]
* [[เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์]]
* อนุวัฒน์ (ธนวัฒ) สืบสุวรรณ
* [[สุรสีห์ อิทธิกุล]]
* [[ดนู ฮันตระกูล]]
* [[จิรพรรณ อังศวานนท์]]
* ดี้ [[นิติพงษ์ ห่อนาค]]
* [[อัสนี โชติกุล]]
* [[นิ่ม สีฟ้า]]
* [[กริช ทอมมัส]]
* [[กฤษณ์ โชคิทิพย์พัฒนา]]
* [[สมชาย กฤษณะเศรณี]]
* [[สารภี ศิริสัมพันธ์]]
* โอม [[ชาตรี คงสุวรรณ]]
* [[ชุมพล สุปัญโญ]]
* [[โสฬส ปุณกะบุตร]]
* [[อนุรักษ์ แซ่ลี้]]
* [[สุรักษ์ สุขเสวี]]
* [[จักราวุธ แสวงผล]]
* [[อรรณพ จันสุตะ]]
{{กลาง}}
* [[วีรภัทร์ อึ้งอัมพร]]
* [[ปัญญา โกเมนไปรรินทร์]]
* [[ปธัยวัฒณ์ วิจิตรเวชการบุญ]]
* [[จาตุรนต์ เอมซ์บุตร]]
* [[มณฑวรรณ ศรีวิเชียร]]
* [[วรัชยา พรหมสถิต]]
* [[ชัชวาล ปุกหุต]]
* [[สมชัย ขำเลิศกุล]]
* [[รุ่งโรจน์ ผลหว้า]]
* [[โป โปษยะนุกุล]]
* [[พนเทพ สุวรรณะบุณย์]]
* [[Bruno Brugnano]]
* [[อภิไชย เย็นพูนสุข]]
* [[เพรช มาร์]]
* วารุศ Sevendogs รินทรานุกูล
* ปอนด์ [[ธนา ลวสุต]]
* [[เชษฐา ยารสเอก]]
* [[ณรงค์วิทย์ เตชะธนวัฒน์]]
{{ล่าง}}
 
== ศิลปินที่มีชื่อเสียง ==
{{บทความหลัก|รายนามศิลปินจากแกรมมี่}}
 
== ภาพยนตร์ ==
{{บทความหลัก|จีเอ็มเอ็ม ไท หับ}}
 
== รางวัลที่บริษัทได้รับ ==
 
* รางวัลบริษัทที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และบริหารยอดเยี่ยม อันดับ 1 ของเอเชีย จาก นิตยสารฟาร์อิสเทิล นิตยสารธุรกิจชั้นนำของโลก (ปี2005)
* "Asia's Best Under A Billion" หนึ่งในบริษัทชั้นนำของเอเชีย ซึ่งได้รับการจัดอันดับจาก นิตยสารฟอร์บให้เป็น 1 ใน 200 บริษัทแห่งเอเชีย
* รางวัลบริษัทที่มีบรรษัทภิบาลดีเด่น (Good Corporate Governance) ปี( 2005-2007)
{{โครง-ส่วน}}
 
== การวิพากษ์วิจารณ์ ==
 
=== เหตุการณ์ซื้อกิจการสื่อ ===
บริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ นำโดย [[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] เข้าซื้อหุ้นบริษัทในเครือ[[มติชน]] 30 กว่าเปอร์เซ็นต์ โดยซื้อจากผู้ถือหุ้นกองทุนต่างประเทศ ทำให้ปัจจุบันแกรมมี่เป็นผู้ถือหุ้นสูงสุดนำหน้าเจ้าของเดิม [[ขรรค์ชัย บุนปาน]] ที่ได้ถือหุ้นอยู่ 24 เปอร์เซ็นต์ โดยทางแกรมมีมีแผนจะซื้อหุ้นเพิ่มจากผู้ถือหุ้นรายย่อยอีก 20 เปอร์เซ็นต์ ในขณะเดียวกันแกรมมี ยังได้ซื้อหุ้นของ นสพ.[[บางกอกโพสต์]] ไปแล้วถึง 20 กว่าเปอร์เซ็นต์ ซึ่งการเข้าซื้อหุ้นสื่อสิ่งพิมพ์ทั้งสองแห่งนี้ได้รับการอนุมัติเงินกู้จาก[[ธนาคารไทยพาณิชย์]]ถึงกว่า 2 พันล้านบาท นอกจากนี้ทางเจ้าหน้าที่ระดับสูงของธนาคารยังเป็นผู้ดำเนินการประสานให้นายไพบูลย์ได้เจรจาซื้อหุ้นกับทางกองทุนต่างประเทศอีกด้วย ทั้งนี้ทาง [[คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย]] ได้ออกมาแสดงความเห็น โดยเกรงว่าการซื้อกิจการสื่อในครั้งนี้จะเป็นการแทรกแซงจากฝ่ายการเมือง ภายในช่วงเวลา 1 สัปดาห์ได้มีกระแสต่อต้านจากภาคประชาชนทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดทางแกรมมี่ต้องยอมลดสัดส่วนหุ้นของมติชนลงเหลือเพียง 20 เปอร์เซ็นต์ โดยจะขายหุ้นคืนให้กับนายขรรค์ชัยในราคาเดียวกับที่ซื้อมา <ref name="takeover">[http://www.bangkokbiznews.com/2005/special/takeover/ แกรมมี่ เทคโอเวอร์ มติชน]</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[จีเอ็มเอ็ม มีเดีย]]
* [[จีเอ็มเอ็ม ไท หับ]]
* [[รายนามศิลปินจากแกรมมี่]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.gmmgrammy.com/ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]
* [http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=3281 GMM Grammy : The Idol Maker]
 
{{จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่}}
 
[[หมวดหมู่:บริษัทมหาชน]]
[[หมวดหมู่:ธุรกิจไทย]]
[[หมวดหมู่:จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่| ]]
 
[[en:GMM Grammy]]