ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีความอลวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: da:Kaosteori
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนอ้างอิงแบบเก่าออก
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
 
[[ภาพ:ThreePlayG6810-10.jpg|thumb|ภาพจำลองการเคลื่อนไหวของ ปรากฏการณ์เคออส จากปัญหาสามวัตถุ จากภาพเส้นที่ต่างกันสามเส้นแทนการเคลื่อนไหวของวัตถุสามชิ้น ซึ่งดูเหมือนไม่เป็นระเบียบ]]
 
'''ทฤษฎีความอลวน''' (chaos theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึง ลักษณะพฤติกรรมของ[[ระบบพลวัต]] (คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วนจนดูคล้ายว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มีระเบียบ (deterministic)
เส้น 18 ⟶ 15:
[[เอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์]] ([[:en:Edward Lorenz|Edward Lorenz]]) เป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกทฤษฎีความอลวน เขาได้สังเกตพฤติกรรมความอลวน ในขณะทำการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ลอเรนซ์ใช้คอมพิวเตอร์ซิมูเลชันแบบจำลองสภาพอากาศ ซึ่งในการคำนวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มซิมูเลชันจากจุดเริ่มต้นใหม่ เพื่อประหยัดเวลาในการคำนวณ เขาจึงใช้ข้อมูลในการคำนวณก่อนหน้านี้เพื่อเป็นค่าเริ่มต้น ปรากฏว่าค่าที่คำนวณได้มีความแตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง เขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ ของค่าที่พิมพ์ออกมา จากค่าที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่าน้อยมาก แต่สามารถนำไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่า ไวต่อสภาวะเริ่มต้น
 
คำ "'''butterfly effect'''" ซึ่งเป็นคำที่นิยมใช้เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีความอลวน นั้นมีที่มาไม่ชัดเจน เริ่มปรากฏแพร่หลายหลังจากการบรรยายของ ลอเรนซ์ ในปี ค.ศ. 1972 ภายใต้ชื่อหัวข้อ "''Does the Flap of a Butterfly's Wings in Brazil Set Off a Tornado in Texas?''" นอกจากนี้แล้วยังอาจมีส่วนมาจาก รูปแนวโคจรของ[[ตัวดึงดูดลอเรนซ์]]{{อ้าง|1}}<ref>Lorenz, Edward N., ''The Essense of Chaos'', The University of Washington Press 1993</ref> (ดังรูปด้านขวามือ) ที่มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ซึ่งเขาได้ตีพิมพ์ในบทความวิชาการก่อนหน้านี้
 
ส่วนคำ "'''chaos'''" (เค-ออส) บัญญัติขึ้นโดย นักคณิตศาตร์ประยุกต์ [[เจมส์ เอ ยอร์ค]] ([[:en:James A. Yorke|James A. Yorke]])
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{หมายเหตุ|1}} Lorenz, Edward N., ''The Essense of Chaos'', The University of Washington Press 1993
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 31 ⟶ 28:
* [http://www.info.tdri.or.th/reports/unpublished/chaos-theory.pdf ทฤษฎีความโกลาหล] โดย [[สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์]]
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์|ความอลวน, ทฤษฎี]]
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์|ความอลวน, ทฤษฎี]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[ar:نظرية الشواش]]