ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เก้าอี้อิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{แก้ภาษา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{แก้รูปแบบ}}
[[ภาพ:Boston Stump misericord 02.JPG|thumb|220px|ม้านั่งทางซ้ายพับขึ้นให้เห็นให้เห็นรูปสลักข้างใต้เป็นคันออกมา ซึ่งใช้เป็นเป็นที่ยืนอิงเวลาเมื่อย]]
[[ภาพ:Misericordia.JPG|thumb|220px|เก้าอี้อิงที่วิทยาลัยแมกดาเลนที่อ๊อกซฟอร์ด อังกฤษ]]
[[ภาพ:Ludlow_Green_Man_misericord.jpg|thumb|220px|รายละเอียดเก้าอี้อิงที่วัดเซนต์ลอเร็นซ์ ที่เมืองลัดโลว์แสดงให้เห็น “มนุษย์ป่า” (Green Man)]]
 
'''เก้าอี้อิง''' (ภาษาอังกฤษ: misericord{{lang-en|Misericord}}) บางทีก็เรียกหรือ ''เก้าอี้ช่วย”ช่วย'' ([[:en:Mercy seat|Mercy seat]]) ในเป็นสิ่งที่กล่าวถึงใน[[คัมภีร์ไบเบิล]] เป็นคันไม้สั้นๆ ที่ยื่นออกมาจากม้านั่งพับได้ที่ตั้งอยู่ในบริเวณสวดมนต์หรือร้องเพลงสวดภายในวัด[[คริสต์ศาสนา]]เพื่อใช้ยืนอิงเพื่อผ่อนคลายความเมื่อยระหว่างที่ต้องยืนสวดมนต์นานๆ
 
== ประวัติ ==
ในสมัยกลางนักบวชต้องยืนสวดมนต์วันละหลายครั้งและครั้งละนานๆ และอาจจะนานถึงวันละ 7-8 ชั่วโมง ผู้สูงอายุหรือเจ็บป่วยก็จะใช้ไม้ค้ำได้ ต่อมาก็มีการใช้ '''เก้าอี้อิง''' หรือ '''misericordia'''({{lang-en|Misericordia}}) ซึ่งแปลตรงๆ ว่า “ความกรุณา” การสร้างเก้าอี้ก็เป็นแบบที่พับได้เพื่อที่ให้ภายใต้เป็นที่สร้างคันเล็กๆ ยื่นออกมาเพื่อช่วยผ่อนคลายความเมื่อยเมื่อยืนอิงและดูไม่น่าเกลียดว่านั่งสวดมนต์ เพราะคันภายใต้จะมีระดับสูงกว่าที่นั่งเล็กน้อย
 
งานแกะไม้ทำ '''เก้าอี้อิง''' ก็เช่นงานศิลปะในยุคกลางอย่างอื่นซึ่งจะประณีต และมักจะเป็นฉากที่อาจจะแสดงฐานะของผู้นั่งเป็นนัย โดยเฉพาะที่นั่งที่ใกล้กับแท่นบูชา
 
เก้าอี้อิง” อิงในวัดใน[[อังกฤษ]]เริ่มทำกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 จนกระทั่งปัจจุบัน แต่งานหลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 17 ก็เริ่มเป็นงานเลียนแบบของเก่าซึ่งทำให้ไม่มีค่าทางประวัติศาสตร์ศิลปะเท่าใด แคทตาลอกของจี แอล เร็มเนนต์ปี ค. ศ. 1969 ไม่ได้กล่าวถึงงานหลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 17 และรวมเป็นงานสมัยใหม่ แต่ก็มีข้อยกเว้นบางกรณีของงานจาก[[สมัยวิคตอเรีย]]และแม้แต่งานสมัยใหม่บางชิ้น งานชุด “เก้าอี้อิง” จากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีให้เห็นก็ได้แก่เก้าอี้อิงที่[[มหาวิหารเอ็กซีเตอร์]] แต่เก้าอี้อิงส่วนใหญ่ในอังกฤษสร้างระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 15 และจะไม่เป็นศิลปะศาสนาแต่จะเป็นเรื่องชาวบ้านหรือรูปสิ่งนอกศาสนา ซึ่งแปลกสำหรับสิ่งที่เอาไว้ในวัดโดยเฉพาะไว้ใกล้บริเวณที่ถือกันว่าศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในวัด
 
เก้าอี้อิง” อิงเหล่านี้ครั้งหนึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของสำนักสงฆ์แต่เมื่อมีการ[[การปฏิรูปศาสนาที่ประเทศอังกฤษ]] เก้าอี้เหล่านี้ก็ถูกทำลายบ้างหรือแจกไปตามวัดประจำตำบลหรือหมู่บ้านบ้าง ที่ยังเหลืออยู่ก็มาถูกทำลายเอาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยกลุ่มชนที่สนับสนุน[[ลัทธิการทำลายศาสนศิลป์]] ([[:en:Iconoclasm|Iconoclasm]]) และโดยนักปฏิรูปสมัยวิคตอเรีย เก้าอี้อิง” อิงชุดหนึ่งที่เชสเตอร์ถูกทำลายโดยดีน ฮอว์ซันผู้อ้างว่าเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมที่จะเอาไว้ในวัด แต่ของเดิมจากยุคกลางก็ยังเหลืออยู่อีก 43 ตัว “เก้าอี้อิง” จาก[[มหาวิหารลิงคอล์น]]ถูกย้ายไปวังเวสท์มินส์เตอร์ (Westminster Hall) กล่าวกันว่าผู้ที่แกะเก้าอี้อิงมักจะเป็นช่างหัดใหม่ ตัวครูจะแกะสิ่งที่เด่นๆ กว่า
 
แม้ว่า เก้าอี้อิง”อิง จะถูกทำลายไปมากแต่ก็ยังมีบางแห่งที่ยังมีเก้าอี้ฝืมือดีที่ยังเหลือให้เราชมอยู่เช่นที่วัดเซนต์โบทอฟ ที่เมืองบอสตันแขวงลิงคอล์นเชอร์ ที่อังกฤษที่เรียกกันว่า “ตอ” (The Stump)
 
==อ้างอิง==