ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางหลวงในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26:
[[ภาพ:Asian highway 2 Ratchaburi.jpg|thumb|ถนนเพชรเกษม]]
[[ภาพ:highways01.JPG|ป้ายบอกหมายเลขทางหลวงสายต่างๆ|thumb]]
ในยุคสมัยเริ่มต้นของการก่อสร้างทางหลวง กรมทางหลวงนิยมใช้ชื่อ หรือบุคคลที่มีความสำคัญ ในสายทางนั้นมาตั้งชื่อถนนหรือสะพาน เช่น [[ถนนวิภาวดีรังสิต]] [[สะพานสารสิน]] เป็นต้น ต่อมาได้มีการพัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวงทั่วประเทศเป็นจำนวนมาก การใช้ชื่ออาจจะก่อให้เกิดการสับสน และไม่สามารถทราบว่าทางสายนั้นอยู่ในภาคใด ดังนั้นจึงได้มีการนำระบบหมายเลขทางหลวงมาใช้กำกับทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน ที่อยู่ใน ความดูแลของกรมทางหลวง โดยหมายเลขกำกับ มีความหมาย ดังนี้ (อาจจะมีการคาบเกี่ยวกันระหว่างภาคบ้าง เนื่องจากแต่ละหน่วยงานมีการแบ่งจังหวัดในแต่ละภาคต่างกันบ้างเล็กน้อย)
## ทางหลวงสายที่ขึ้นต้นด้วยหมายเลข 41 แสดงว่าทางสายนั้นอยู่ในภาคใต้เหนือ
# '''แสดงที่ตั้งของทางหลวง''' (อาจจะมีการคาบเกี่ยวกันระหว่างภาคบ้าง เนื่องจากแต่ละหน่วยงานมีการแบ่งจังหวัดในแต่ละภาคต่างกันบ้างเล็กน้อย)
## ทางหลวงสายที่ขึ้นต้นด้วยหมายเลข 12 แสดงว่าทางสายนั้นอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (บางส่วนของภาคกลางโดยเฉพาะใน จ.สระบุรี, จ.ลพบุรี, จ.เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก)
## ทางหลวงสายที่ขึ้นต้นด้วยหมายเลข 23 แสดงว่าทางสายนั้นอยู่ในภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ตอนบน (บางส่วนของภาคกลางโดยเฉพาะเส้นทางใน จ.สระบุรี, จ.ลพบุรี, จ.เพชรบูรณ์ และพิษณุโลกชุมพร)
## ทางหลวงสายที่ขึ้นต้นด้วยหมายเลข 34 แสดงว่าทางสายนั้นอยู่ในภาคกลาง ตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ตอนบน (บางเส้นทางใน จ.ชุมพร)
 
## ทางหลวงสายที่ขึ้นต้นด้วยหมายเลข 4 แสดงว่าทางสายนั้นอยู่ในภาคใต้
=== การจำแนกระบบหมายเลขทางหลวง ===
# '''ทางหลวงที่มีหมายเลขตัวเดียว''' หมายถึง ทางหลวงแผ่นดินสายประธาน เชื่อมการจราจรระหว่างภาคต่อภาค ในปัจจุบันมีอยู่ 4 สาย คือ