ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยานมาศสามลำคาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dhee (คุย | ส่วนร่วม)
Dhee (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2:
พระยานมาศสามลำคาน เป็นคานหามขนาดใหญ่ กลางตั้งแท่นทำด้วยไม้สลักปิดทองประดับกระจกสี มีพนักโดยรอบ 3 ด้าน และมีคานหาม 3 คาน จึงเรียกว่า พระยานมาศสามลำคาน ลักษณะเป็นแท่นซ้อนลด ๔ ชั้น ย่อมุมไม้สิบสอง ชั้นบนสุดทำเป็นแผงราชวัตรจำหลักลายประดับกระจกกั้น เว้นช่องที่ส่วนหน้าและส่วนหลัง และมีมุขยื่นออกมา ฐานชั้นที่ ๓ ประดับรูปครุฑแกะสลักโดยรอบ ๓๘ ตัว ชั้นที่ ๔ ประดับเทพนม ๒๖ องค์ ตัวแท่นยานมาศตั้งยึดติดกับลำคานทั้ง ๓ บนยานมีแผ่นไม้ขนาดใหญ่รูปแปดเหลี่ยมพร้อมขอเกี่ยว ๔ ตัว ติดไว้ พื้นไม้ด้านบนทาสีแดง รอบข้างสลักลายปิดทอง เป็นที่สำหรับตั้งพระโกศให้มั่นคง คานทั้ง ๓ เป็นไม้กลึงกลมทาสีแดง สร้างจากไม้เนื้อแข็งจำนวนสามลำ ปลายสลักเป็นหัวเม็ดปิดทองประดับกระจกสี ใช้พนักงานหาม ๖๐ คน เวลาหามจริงใช้คน ๒ ผลัด พระยานมาศสามลำคานองค์แรกสร้างขึ้นในสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เพื่อใช้อัญเชิญพระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอ ดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นครั้งแรก
==การใช้งาน==
เพื่ออัญเชิญพระโกศพระบรมศพพระมหากษัตริย์ โดยกระบวนพยุหยาตราสี่สายจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ไปประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถที่จอดเทียบรออยู่ใกล้พลับพลายกตรงสี่แยกบริเวณหน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อพระมหาพิชัยราชรถเชิญพระโกศพระบรมศพไปถึงพระสุเมรุมาศแล้ว ก็จะใช้พระพระยานมาศสามลำคานนี้อัญเชิญพระโกศพระบรมศ พศพจากพระมหาพิชัยราชรถเวียนรอบพระเมรุมาศ ณ ท้องสนามหลวง อีกครั้งหนึ่ง
 
==งานพระบรมศพ==