ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอภิธรรมปิฎก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 4:
'''อภิธรรม''' ([[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต:]] abhidharma) หรือ'''อภิธัมมะ''' ([[ภาษาบาลี|บาลี:]] abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "[[พระไตรปิฎก]]" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธณรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วน ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย
 
== ประวัติ ==
== ประัวัติ ==
 
คำสอนของ[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระำพุทธเจ้าพระพุทธเจ้า]] เ้ดิมเรียกว่าเดิมเรียกว่า "ธรรมวินัย" ทั้งหมด ยังมิได้แยกเป็นปิฎกสามปิฎก ดังพระพุทธวจนะว่่าว่า ''"ธรรมและวินัยใดที่เราตถาคตแสดงไว้แล้วบัญญัติไว้แล้ว ธรรมและวินัยนั้นจะเ้ป็นเป็นศาสดาของพวกเธอเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว"''<ref>พระไตรปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค ฉบับภาษาไทย, เล่ม 10/ข้อ 141/หน้า 178.</ref> ต่อมาใน[[การสังคายนา]]ครั้งที่ 3 ธรรมวินัยได้รับการแบ่งแยกออกเป็นปิฎกสามปิฎก คือ [[พระวินัียปิฎกวินัยปิฎก]] [[พระสุตตันตปิฎก]] และพระอภิธรรมปิฎก
 
อรรถกา[[อัตถสาลินี]] อันเป็น[[อรรถกา]]ที่ิที่อธิบายคัมภีร์สังคณีแห่งพระัอภิธรรมปิฎกสังคณีแห่งพระอภิธรรมปิฎก และอรรถกาธัมมปทัฏฐกถา อันเป็นอรรถกถาที่อธิบายคัมภีร์ธรรมบทแห่งพระสุตตันตปิฎก ว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นไปเทศน์พระอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในพรรษที่ 7 หลังจากทรงตรัสรู้ และได้ทรงถ่ายทอดพระอภิธรรมนั้นแก่[[พระสารีบุตร]]ในเวลาต่อมา<ref>พระไตรปิฎก พระอภิธรรม ฉบับภาษาไทย, เล่ม 9/ข้อ 67.</ref>
 
สำนวนในการเขียนพระอภิธรรมปิฎกเป็น "ภาษาหนังสืิอหนังสือ" แตกต่างจากสำนวนภาษาในพระวินัยปิำฎกวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก จึงมีผู้สันนิษฐานว่าพระอภิไธยปิฎกนี้เป็นของแ่้ต่งเติมชึ้นในหม่่ภายหลังแ้ต่งเติมชึ้นในหม่ภายหลัง
 
== องค์ประกอบ ==
 
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้นแบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์ ซึ่งเรียกย่อว่า สํ. วิ. ธา. ปุ. ก. ย. และ ป. ตามลำดับ ประักอบประกอบไปด้วย
 
1. [[สังคณี]] หรือธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํ.") - รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท
 
2. [[วิภังค์]] (เรียกโดยย่อว่า "วิ.") - ยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้่อหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
 
3. [[ธาตุกถา]] (เรียกโดยย่อว่า "ธา.") - สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
บรรทัด 24:
4. [[ปุคคลบัญญัติ]] (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.") - บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
 
5. [[กถาวัตถุ]] (เรียกโดยย่อว่า "ก.") - แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของ[[พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระัสสเถระ]]
 
6. [[ยมกะ]] (เรียกโดยย่อว่า "ย.") - ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
บรรทัด 32:
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
* ราชบัณฑิตยถาน. (2551, กุมภาพันธ์). ''พจนานุุกรมพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542''. เข้าถึงได้จาก: < http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp >. (เข้าถึงเมื่อ: 18 ตุลาคม 2551)..
* ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตสถาน.'' (พิมพ์ครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 3-4.