ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิจฉาทิฐิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Ps (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
'''มิจฉาทิฐิ''' หรือ '''มิจฉาทิฏฐิ''' หมายถึง ความเห็นผิด การเห็นกงจักรเป็นใบบัว [[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธองค์]]ทรงตรัส<ref>[http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81_%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1_%E0%B9%95_%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8C%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2_%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8C%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C_-_%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84_-_%E0%B9%91%E0%B9%90._%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3 พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ - คหบดีวรรค - ๑๐. อปัณณกสูตร] ข้อที่ ๑๐๕.</ref>ไว้ว่า
'''มิจฉาทิฐิ''' หรือ '''มิจฉาทิฏฐิ''' หมายถึง เห็นผิด ความเห็นที่ผิดจากคลองธรรม เช่น
*ทานที่ให้แล้วไม่มีผล
*ยัญที่บูชาแล้วไม่มีผล
*การบวงสรวงไม่มีผล
*ผลวิบากแห่งกรรมดี กรรมชั่วไม่มี
*โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี
*มารดาไม่มี บิดาไม่มี
*สัตว์ทั้งหลายที่ผุดเกิดขึ้นไม่มี
*[[สมณพราหมณ์]]ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ กระทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้และโลกหน้าด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้ว สั่งสอนประชุมชนให้รู้ตาม ไม่มีในโลก
 
"<i>ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์บางพวกมีวาทะอย่างนี้ มีทิฏฐิอย่างนี้ว่า
==ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ==
* ทานที่ให้แล้วไม่มีผล
ปัจจัยให้เกิด[[มิจฉาทิฏฐิ]] มี 2 อย่าง ได้แก่
*ยัญที่ การบูชาแล้วไม่มีผล
*[[ปรโตโฆสะ]] คือ การโฆษณาแต่บุคคลอื่น เสียงจากผู้อื่น ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น
* การบวงสรวงไม่มีผล
*[[อโยนิโสมนสิการ]] คือ การทำในใจโดยไม่แยบคาย การไม่ใช้[[ปัญญา]]พิจารณา ความไม่รู้จักคิด การปล่อยให้อวิชาครอบงำ ตรงกันข้ามกับคำว่า [[โยนิโสมนสิการ]]
* ผลวิบากแห่งของกรรมดี กรรมชั่วไม่มี
* โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี
* โลกอื่นไม่มี
* มารดาไม่มี บิดาไม่มี บุญคุณ
* บิดาไม่มีบุญคุณ
* สัตว์ที่เป็น[[โอปปาติกะ]]ไม่มี
* [[สมณพราหมณ์]]ผู้ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ กระทำให้แจ้งซึ่งทราบถึงโลกนี้และโลกหน้าอื่นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้ว สั่งสอนประชุมชนให้และสามารถทำให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย ไม่มีในโลก</i>"
 
ซึ่งจากการประพฤติผิดมิชอบนี้เอง จะส่งผลให้บุคคลนั้น ๆ ต้องไปเกิดยังนรกอเวจีเพื่อใช้กรรมที่ตนเองก่อไว้หลายร้อยชาติ
==อ้างอิง==
 
== ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ ==
ปัจจัยให้เกิด[[มิจฉาทิฏฐิ]] มี 2 อย่าง ได้แก่
* [[ปรโตโฆสะ]] คือ การโฆษณาแต่บุคคลอื่น เสียงจากผู้อื่น ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น
* [[อโยนิโสมนสิการ]] คือ การทำในใจโดยไม่แยบคาย การไม่ใช้[[ปัญญา]]พิจารณา ความไม่รู้จักคิด การปล่อยให้อวิชาครอบงำ ตรงกันข้ามกับคำว่า [[โยนิโสมนสิการ]]
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=23&A=4639&Z=4716/ อักขณสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓]
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=2259&Z=2294/ ตติยปัณณาสก์ อาสาวรรคที่ ๑ ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐]
{{จบอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:หลักธรรมในพุทธศาสนา]]