ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซี. เอส. ลิวอิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: mr:सी.एस. लुईस
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
สังคายนาวิกิพีเดียไทยรอบ 2+ลบเนื้อหาซ้ำซ้อน
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Infobox Writer
| name = ซี. เอส. ลิวอิส
เส้น 25 ⟶ 24:
| footnotes =
}}
'''ไคลว์ สเตเปิลส์ ลิวอิส''' ({{lang-en|Clive Staples Lewis}}; [[29 พ.ย.]] [[พ.ศ. 2441]] — [[22 พ.ย.]] [[พ.ศ. 2506]]) หรือรู้จักในนาม '''ซี.เอส. ลิวอิส''' เป็นนักเขียนที่เป็นที่รู้จักจากวรรณกรรมชุด[[นาร์เนีย|ตำนานแห่งนาร์เนีย]] ซึ่งได้แปลเป็นภาษาต่างๆ มากกว่า 30 ภาษา และมียอดขายรวมทั่วโลกไปแล้วมากกว่า 100 ล้านเล่ม
 
'''ไคลว์ สเตเปิลส์ ลิวอิส''' (Clive Staples Lewis; [[29 พ.ย.]] [[พ.ศ. 2441]] — [[22 พ.ย.]] [[พ.ศ. 2506]]) หรือรู้จักในนาม '''ซี.เอส. ลิวอิส''' เป็นนักเขียนที่เป็นที่รู้จักจากวรรณกรรมชุด[[นาร์เนีย|ตำนานแห่งนาร์เนีย]] ซึ่งได้แปลเป็นภาษาต่างๆ มากกว่า 30 ภาษา และมียอดขายรวมทั่วโลกไปแล้วมากกว่า 100 ล้านเล่ม
 
ลิวอิสเกิดที่[[ประเทศไอร์แลนด์]] สำเร็จการศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] และได้เป็นอาจารย์ที่วิทยาลัยแม็กดาเลน อ๊อกซฟอร์ด เป็นเวลาเกือบสามสิบปี เขาเป็นสหายสนิทของ[[เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน]] ผู้แต่ง[[เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์]]ด้วย ทั้งสองเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เป็นนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีบทบาทในการปฏิรูปหลักสูตรภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย และเป็นกลุ่มผู้ก่อตั้ง[[Inklings|ชมรมอิงคลิงส์]]ในยุคเริ่มต้น ต่อมาเขาจึงได้มาเป็นศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] ในตำแหน่ง Professor of Medieval and Renaissance Literature (ศาสตราจารย์ด้านวรรณกรรมยุคกลางและยุคเรเนสซองส์) คนแรกของเคมบริดจ์
เส้น 32 ⟶ 30:
นอกจากเรื่องชุด[[นาร์เนีย]]แล้ว ลิวอิสเขียนหนังสือเกี่ยวกับหลักความเชื่อทางศาสนา ผลงานวิชาการ และบทกวีหลายเล่ม เช่น The Pilgrim's Regress (1933) The Allegory of Love (1936) Out of the Silent Planet (1938)
 
==นาร์เนีย==
สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือ ซี. เอส. ลูว์อิส ผู้แต่งนิยายชุดนาร์เนีย และ เจ. อาร์. อาร์ โทลคีน ผู้แต่ง ลอร์ด ออฟ เดอะ ริงส์ ถึงแม้จะเป็นเพื่อนอาจารย์สอนหนังสือด้วยกันที่มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด สูบไปป์ ดื่มกินในผับเดียวกัน โดยก่อตั้งชมรมนักเขียน อิงคลิงส์เป็นศูนย์กลางที่ร้าน ดิ อีเกิ้ล แอนด์ ไชล์ด
นิยายชุดนาร์เนียของลูว์[[ตำนานแห่งนาร์เนีย|นาร์เนีย]]ของลิวอิสมีทั้งหมด 7 เล่ม เมื่อตีพิมพ์ตอนแรก เดอะ ไลอ้อน เดอะ วิชต์ แอนด์ เดอะ วาร์ดโรป (อภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับ [[ตู้พิศวง)]] ในปี ค.ศ. 1950 ก็ได้รับความนิยมอย่างมาก หากภาพยนตร์[[มหันตภัยแห่งแหวน]]คือเรื่องราวสำหรับผู้ใหญ่แล้ว นาร์เนียคงเป็นเรื่องราวสนุกสนานสำหรับเด็กอย่างแน่นอน โดยผสมผสานคติทาง[[ศาสนาคริสต์]]ได้ลงตัวสุดแยบยล ต่างจากนิทานชาดกซึ่งมักจะสรุปทุกสิ่งยัดเยียดต่อผู้อ่านและผู้ชมอย่างโจ่งแจ้ง
 
หลงใหลในวรรณกรรมคลาสสิกที่เขียนหลังปี ค.ศ. 1,100 ชื่นชอบงานเขียนในแนวเทพนิยายของชนชาวนอร์ส และ ชาวเยอรมัน เกลียดชังวรรณกรรมสมัยใหม่ของ ดิกเก้นส์ จอยซ์ บทกวีของ ที.เอส. เอเลียต ตลอดจนนวนิยายของ ฟิตซ์เจอรัลด์ หรือ เฮมิงเวย์ ด้วย เป็นคริสเตียนผู้เคร่งครัด เขียนหนังสือซึ่งกลายมาเป็นนิยายคลาสสิกแต่ต่างฝ่ายก็เกลียดโลกแฟนตาซี(แนวจินตนาการเหนือจริง)ของกันและกัน
 
บ้างก็อ้างว่า ลูว์อิสลอกเลียนงานเขียนของโทลคีน และแสร้งศรัทธาในพระเจ้า งานเขียนของลูว์อิสค่อนข้างฉาบฉวย-มีจุดบกพร่อง ใช้สำนวนภาษาทันสมัย-อ่านง่าย เดินเรื่องกระชับฉับไว ส่วนโทลคีนจะละเอียดรอบคอบ ใช้เวลาเนิ่นนานประดิษฐ์ประดอย(ภาษาเฉพาะ)ถักทอเรื่องราว ใช้สำนวนภาษาแบบโบราณ เข้มขลัง ค่อนข้างอ่านยาก จักรวาลของโทลคีนอยู่ใน มิดเดิ้ล เอิร์ธ,มิติพิศวง ยากที่จะระบุที่ตั้งอาณาจักร-ห้วงเวลา เมื่อเปรียบเทียบกับโลกมนุษย์แต่ของลูว์อิสอยู่ถัดจากบานประตูเข้าไปแค่นี้เอง
 
บ้างก็อ้างว่า ลูว์อิสลอกเลียนงานเขียนของโทลคีน และแสร้งศรัทธาในพระเจ้า งานเขียนของลูว์อิสค่อนข้างฉาบฉวย-มีจุดบกพร่อง ใช้สำนวนภาษาทันสมัย-อ่านง่าย เดินเรื่องกระชับฉับไว ส่วนโทลคีนจะละเอียดรอบคอบ ใช้เวลาเนิ่นนานประดิษฐ์ประดอย(ภาษาเฉพาะ)ถักทอเรื่องราว ใช้สำนวนภาษาแบบโบราณ เข้มขลัง ค่อนข้างอ่านยาก จักรวาลของโทลคีนอยู่ใน มิดเดิ้ล เอิร์ธ,มิติพิศวง ยากที่จะระบุที่ตั้งอาณาจักร-ห้วงเวลา เมื่อเปรียบเทียบกับโลกมนุษย์แต่ของลูว์อิสอยู่ถัดจากบานประตูเข้าไปแค่นี้เอง
 
นิยายชุดนาร์เนียของลูว์อิสมีทั้งหมด 7 เล่ม เมื่อตีพิมพ์ตอนแรก เดอะ ไลอ้อน เดอะ วิชต์ แอนด์ เดอะ วาร์ดโรป (อภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับ ตู้พิศวง) ในปี ค.ศ. 1950 ก็ได้รับความนิยมอย่างมาก หากภาพยนตร์มหันตภัยแห่งแหวนคือเรื่องราวสำหรับผู้ใหญ่แล้ว นาร์เนียคงเป็นเรื่องราวสนุกสนานสำหรับเด็กอย่างแน่นอน โดยผสมผสานคติทางศาสนาคริสต์ได้ลงตัวสุดแยบยล ต่างจากนิทานชาดกซึ่งมักจะสรุปทุกสิ่งยัดเยียดต่อผู้อ่านและผู้ชมอย่างโจ่งแจ้ง
 
การสื่อสารเชิงสัญลักษณ์คล้ายใน [[พ่อมดแห่งออซ]] โดยแสดงออกถึงความไร้เดียงสาของเด็กซึ่งถูกผู้ใหญ่ทอดทิ้ง ต้องการหลีกหนีโลกแห่งความจริงอันโหดร้ายไปผจญภัยในดินแดนแห่งจินตนาการ และสื่อสารให้เห็น '''ความดี-ความชั่ว''' ผ่านตัวละคร,สรรพสัตว์ สุดท้ายพวกเด็กๆ ก็จะสับสนกับการตัดสินใจกลับสู่โลกปัจจุบันอันน่าเบื่อหน่าย หรือจะอยู่ต่อในดินแดนมหัศจรรย์ที่พวกเขากลายเป็นวีรบุรุษ
 
== ดูเพิ่ม ==
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[สัญลักษณ์แฝงคติ]]
 
{{นาร์เนีย}}
{{เรียงลำดับ|ซี. อเส. ลิวอิส}}
[[หมวดหมู่:นักเขียนชาวไอร์แลนด์]]
[[หมวดหมู่:ชาวไอร์แลนด์]]