ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมสมัยใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ภาพ:Rama VIII Bridge at night.jpg|thumb|270px|[[สะพานพระราม 8]] [[โครงการพระราชดำริ]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]]]
[[ภาพ:Oak Park Il Unity Temple1.jpg|thumb|270px|Unity Temple โดย [[แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์]] ปี ค.ศ. 1906]]
[[ภาพ:Dornach goetheanum westseite.jpg|thumb|270px|ตึกเกอเธนนุมที่ 2 ใกล้เมืองบาเซล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ออกแบบโดย รูดอล์ฟ สไตน์เนอร์]]
[[ภาพ:CasaBatllo 0056.JPG|thumb|270px|ตึกบัทโล (Casa Batllo) โดยแอนโทนี กอดี]]
'''สถาปัตยกรรมสมัยใหม่''' (ภาษาอังกฤษ: Modern architecture) คือสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะที่เรียกว่า “[[สมัยใหม่นิยม|สมัยใหม่”ใหม่]]” ซึ่งมิได้หมายถึงวิวัฒนาการล่าสุดของสถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่มิใช่สถาปัตยกรรมร่วมสมัยแต่เป็นคำที่ใช้บรรยายสิ่งก่อสร้างที่มีองค์ประกอบคล้ายคลึงกันตามคำจำกัดความ ซึ่งโดยทั่วไปคือรูปทรงจะเกลี้ยงเกลาและปราศจากการตกแต่ง ลักษณะนี้เริ่มใช้กันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่โดยทั่วไปแล้วลักษณะเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันก็ยังสรุปกันไม่ได้และยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
 
สิ่งก่อสร้างตามแบบสมัยไหม่ที่ว่านี้มิได้เริ่มสร้างกันจริงๆ จังๆ อย่างจริงจังจนกระทั่งครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่าสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อยู่ในชื่อหนังสือโดย [[ออตโต วากเนอร์]].<ref>Otto Wagner. [http://books.google.com/books?id=AvgjAAAAMAAJ&pg=PA2&dq ''Moderne Architektur: Seinen Schülern ein Führer auf diesem Kunstgebiete.''] Anton Schroll. 1902.</ref><ref>Otto Wagner. Translated by Harry Francis Mallgrave. ''Modern Architecture: A Guidebook for His Students to This Field of Art.'' Getty Center for the History of Art and the Humanities. 1988. ISBN 0226869385</ref> สถาปัตยกรรมสมัยใหม่มาเริ่มนิยมกัยแพร่หลายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]เป็นเวลาประมาณ 30 ปี ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งก่อสร้างแบบสถาบันและธุรกิจ
 
== ที่มา ==
นักประวัติศาสตร์บางท่านให้ความเห็นว่าการวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เป็นผลจาก[[สังคมวิทยา]]ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับปัจจัยกระตุ้นหลักจากสภาวะ[[ความเป็นสมัยใหม่]] ([[:en:Modernity|modernity]]) ซึ่งก็คือ [[ยุคแสงสว่าง|ยุคภูมิปัญญา]] การวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่จึงเป็นผลโดยตรงมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและทาง[[การเมือง]]
 
อีกทฤษฎีหนึ่งก็ว่าสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เป็นผลสะท้อนจากการวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีและ[[วิศวกรรม]] ซึ่งจะเห็นได้จาก[[วัสดุก่อสร้าง]]ใหม่ๆใหม่ ๆ เช่น [[เหล็ก]] [[เหล็กกล้า]] [[คอนกรีต]] และ [[แก้ว]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]] ที่ทำให้เกิดวิธีการก่อสร้างใหม่ๆใหม่ ๆ เมื่อ[[คริสต์ศตวรรษที่ 18]]
 
เมื่อปี ค.ศ. 1796 ชาร์ล เบจ (Charles Bage) เจ้าของโรงสีที่เมืองชรูสบรี (Shrewsbury) ที่[[อังกฤษ]]เป็นนักอุตสาหกรรมคนแรกที่ใช้วัสดุก่อสร้างที่สามารถกันไฟได้ในการออกแบบ เช่นเหล็กหลอม และ[[อิฐ]] และใช้พื้นหิน (flag stone floors) การใช้วัสดุก่อสร้างเหล่านี้ทำให้[[สิ่งก่อสร้าง]]แข็งแรงขึ้นและสามารถใช้เป็นที่ตั้งเครื่องจักรใหญ่ๆใหญ่ ๆ ได้
 
ในสมัยแรกของการใช้เหล็กเป็นวัสดุในการก่อสร้าง สถาปนิกยังไม่มีความรู้เรื่องเหล็กดีพอจึงทำให้โรงงานหลายโรงงานที่สร้างในสมัยนั้นพังลงมา มาจนกระทั่งราวปี ค.ศ. 1830 เมื่ออีตัน ฮอดจ์คินสัน (Eaton Hodgkinson) พบวิธีทำให้สิ่งก่อสร้างแข็งแรงขึ้นโดยการใช้คานช่วง (section beam) ทำให้การก่อสร้างด้วยเหล็กจึงได้เผยแพร่มากขึ้นอย่างรวดเร็ว
 
การก่อสร้างสิ่งก่อสร้างทางอุตสาหกรรมลักษณะที่เรียบง่ายขึงขังนี้เป็นการปฏิวัติรูปทรงของสิ่งก่อสร้างที่เคยทำกันมา โดยเฉพาะทางตอนเหนือของอังกฤษแถว[[แมนเชสเตอร์]] และ ทางตะวันตกของมณฑลยอร์คเชอร์ จนมารู้จักกันในนามว่า “โรงงานซาตาน” (Dark satanic mills)
บรรทัด 24:
“วังแก้ว” (The Crystal Palace) ออกแบบโดย[[โจเซฟ แพกซ์ตัน]] ที่[[นิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรม พ.ศ. 2394|งานนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรม]] เมื่อ ค.ศ. 1851 เป็นตัวอย่างของสิ่งก่อสร้างที่ทำด้วยเหล็กและแก้ว ซึ่งอาจจะถือได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดของสิ่งก่อสร้างที่พัฒนามาเป็นการก่อสร้าง[[ตึกระฟ้า]]ที่เมือง[[ชิคาโก]] เมื่อปี ค.ศ. 1890 โดย [[วิลเลียม เลอ บารอน เจนนี]] (William Le Baron Jenney) และ [[หลุยส์ ซัลลิแวน]] โครงสร้างระยะแรกที่ใช้คอนกรีตเป็นหลักไม่เฉพาะแต่เป็นการใช้เป็นสิ่งก่อสร้างเท่านั้นแต่การใช้คอนกรีตเป็นการแสดงออกถึงลักษณะสถาปัตยกรรมยุคนั้นด้วย จะเห็นได้จากวัดยูนิตี (Unity Temple) ที่ออกแบบและสร้างโดย [[แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์]]เมื่อปี ค.ศ. 1906 ไม่ไกลจากชิคาโก และ ตึกเกอเธนนุมที่ 2 (Second Goetheanum) ใกล้เมืองบาเซล (Basel) [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] ที่สร้างโดย รูดอล์ฟ สไตน์เนอร์ (Rudolf Steiner) เมื่อปี ค.ศ. 1926
 
นักประวัติศาสตร์คนอื่นๆอื่น ๆ เห็นว่า[[ลัทธิความเป็นสมัยใหม่ ([[:en:Modernism|Modernism]]) เป็นเรื่องของรสนิยม ปฏิกิริยาต่อความผสมผสานทางศิลปะ ([[:en:Eclecticism in art|Eclecticism]]) และชีวิตที่ฟุ่มเฟือยใน[[สมัยวิคตอเรีย]] ([[:en:Victorian era|Victorian era]]) [[สมัยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด]] ([[:en:Edwardian period|Edwardian period]]) และ [[อาร์ตนูโว|สมัยอาร์ตนูโว]]
 
แต่ไม่ว่าจะเป็นสาเหตใด เมื่อประมาณปี ค.ศ. 1900 [[สถาปนิก]]หลายคนทั่วโลกก็เริ่มใช้วิธีการก่อสร้างสมัยใหม่ในการปรับปรุงลักษณะการก่อสร้างสมัยเดิมเช่นสมัย[[สถาปัตยกรรมกอธิค|กอธิค]] เราจึงเห็นความขัดแย้งกันระหว่างสถาปัตยกรรมเก่ากับใหม่ในผลงานของสถาปนิกบางคนเช่น [[หลุยส์ ซุลลิแวน]] [[แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์]] ที่ชิคาโก หรือ [[วิคเตอร์ ฮอร์ตา]] (Victor Horta) จาก [[บรัสเซลส์]] [[อันโทนี กอดี]] (Antoni Gaudi) จาก [[บาร์เซโลนา]] [[ออตโต วากเนอร์]] (Otto Wagner) จาก [[เวียนนา]] และ [[ชาร์ล เร็นนี แม็คคินทอช]] (Charles Rennie Mackintosh) จาก [[กลาสโกว์]]
องค์การที่มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ความคิดทางศิลปะ [[หัตถกรรม]] และ ลัทธิความสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นมาราว ค.ศ. 1920 คือ “องค์การสหภาพแรงงานเยอรมันี”เยอรมนี” ([[:en:Deutscher Werkbund|Deutscher Werkbund]] หรือ German Work Federation) ซึ่งเป็นกลุ่มของสถาปนิก นักออกแบบ และนักอุตสาหกรรม ที่ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1907 ที่ [[มิวเชินมิวนิก]] มูเธเชียส (Muthesius) ผู้เขียนตำราสามเล่มชื่อ “บ้านแบบอังกฤษ” (The English House) เมื่อ ค.ศ. 1905 เป็นการสำรวจบทเรียนจากขบวนการทางศิลปะและหัตถกรรมในอังกฤษและความคิดเห็นทางการเมืองและทาง[[วัฒนธรรม]]<ref>Lucius Burckhardt (1987) . ''The Werkbund''. ? : Hyperion Press. ISBN.
Frederic J. Schwartz (1996). ''The Werkbund: Design Theory and Mass Culture Before the First World War''. New Haven, Conn. : Yale University Press. ISBN.</ref>
 
บรรทัด 53:
ภาพ:Suvarnabhummi.jpg|[[ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]
</gallery>
 
 
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรมไทย]]