ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพิจารณ์พลกิจ (ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ธนูเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ธนูเทพ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''พลตำรวจตรี พระพิจารณ์พลกิจ''' ([[9 มกราคม]] [[พ.ศ. 2435]] - [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2502]]) มีนามเดิมว่า ยู่เซ็ก ดุละลัมพะ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ
 
เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2435 ปีมะโรง จ.ศ.1254 ณ บ้านตลาดขวาง ตำบลบางพระ อำเภอเมือง [[จังหวัดตราด]] เป็นบุตรคนที่ 7 ของ ขุนนราพานิช ( บ๊วย ) และ นางหยาม ดุละลัมพะ ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 12 คน ดังนี้
# นางกิมไส ดุละลัมพะ
# นางกิมสี คำจิ่ม
บรรทัด 17:
# พลตำรวจตรีโมรา ดุละลัมพะ
 
เมื่อเยาว์วัย ได้เข้าศึกษาที่วัดไผ่ล้อม จังหวัดตราด ในสำนักของ พระวิมลเมธาจารย์วรญาณคณานุรักษ์ ( เจ้ง จันทสร ) เจ้าคณะจังหวัดตราด จนสอบไล่ได้ประกาศนียบัตร ประถมชั้น 3 เมื่ออายุได้ 11 ปี ต่อมา เมื่อ พ.ศ. 2446 รัฐบาลไทยได้ยกจังหวัดตราดให้กับฝรั่งเศส โดยได้แลกกับจังหวัดจันทบุรีที่ยึดไว้เป็นประกันนั้น จึงได้อพยพติดตามมารดากับพี่น้องมาอยู่ที่จันทบุรีชั่วระยะหนึ่ง แล้วย้ายเข้าสู่กรุงเทพฯ โดยมาเข้าศึกษาต่อที่[[โรงเรียนวัดปทุมคงคา]] แล้วลาออก โดยมารดาพาเข้าไปฝากตัวต่อ[[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์]] [[วัดบวรนิเวศวิหาร]] ซึ่งขณะนั้นยังเป็นมีสมณศักดิ์ที่ พระญาณวราภรณ์
 
เริ่มเข้ารับราชการครั้งแรก เป็นเสมียนโรงกลึง ในกรมทาง กระทรวงคมนาคม เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2453 แล้วจึงโอนมารับราชการในกระทรวงนครบาล เมื่อ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2455 ได้ศึกษาวิชาการตำรวจ สำเร็จการศึกษาในปีถัดมา
บรรทัด 53:
* พ.ศ. 2483 เป็นกรรมการอำนวยการจัดงานวันชาติ
 
ได้รับตำแหน่งสูงสุดในราชการ คือ อธิบดีกรมตำรวจ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2489 ในรัฐบาล[[หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี และได้ลาออกจากราชการ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ .2490 เนื่องด้วยสุขภาพโดยไม่สมบูรณ์กลับเข้ารับราชการอีกเลย แม้ภายหลังจะมีผู้มาขอร้องให้ไปดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้ คือ ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย และ เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 2แต่ท่านก็ไม่รับ
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้ คือ ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก ,ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย และ เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 2
เมื่อลาออกจากราชการแล้ว ในปี พ.ศ. 2490 ก็ได้ทำการอุปสมบท ณ วัดเบญจมบพิตร โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตติโสภณมหาเถร) เมื่อยังเป็นที่สมเด็จพระวันรัต เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับสมญาว่า "วิจารโณภิกขุ" และภายหลังเมื่อลาสิกขาแล้ว ก็ได้ใช้ชีวิตไปกับการอุทิศตนให้กับศาสนา ด้วยการถือศีล ตามวัดต่างๆ เช่น วัดราชาธิวาศ วัดมหาธาตุ และสุดท้ายคือวัดราชผาติการาม กับได้ได้บวชกุลบุตรให้อุปสมบทในวัดต่างๆ รวมถึง 44 รูป
 
เมื่อลาออกจากราชการแล้ว ในปี พ.ศ. 2490 ก็ได้ทำการอุปสมบท ณ วัดเบญจมบพิตร โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตติโสภณมหาเถร) เมื่อยังเป็นที่สมเด็จพระวันรัต เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับสมญาว่า "วิจารโณภิกขุ" และภายหลังเมื่อลาสิกขาแล้ว ก็ได้ใช้ชีวิตไปกับการอุทิศตนให้กับศาสนา ด้วยการถือศีล ตามวัดต่างๆ เช่น วัดบุปผาราม วัดราชาธิวาศ วัดมหาธาตุ และสุดท้ายคือวัดราชผาติการาม กับได้ได้บวชกุลบุตรให้อุปสมบทในวัดต่างๆ รวมถึง 44 รูป
 
ด้านชีวิตครอบครัว ในปี พ.ศ. 2457 ได้ทำการสมรสครั้งแรกกับคุณนายกิมบ๊วย มีบุตร-ธิดา 3 ท่าน คือ