ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมโนทรีม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Taxobox
เส้น 40 ⟶ 41:
เรื่องการควบคุมอุณหภูมินี้ [[นักวิจัย]]ยุคแรกๆ ถูกหลอกให้เข้าใจผิดด้วยสองปัจจัย คือ
*โดยปกติแล้วโมโนทรีมมีอุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ชนิดอื่น คือประมาณ 32 [[องศาเซลเซียส|°C]] (สัตว์จำพวก[[จิงโจ้]] 35 °C , สัตว์ที่มีรกในครรภ์ 38 °C , สัตว์จำพวก[[นก]] 41 °C)
*[[อีคิดนา]] จะรักษาอุณหภูิมิอุณหภูมิปกติไว้เฉพาะตอนที่มันออกหา[[อาหาร]]หรือทำกิจกรรมเท่านั้น เมื่ออยู่ใน[[อากาศ]]ที่หนาวเย็นอีคิดนาจะประหยัด[[พลังงาน]]ด้วยการ "ปิดสวิตช์" ระบบหมุนเวียนความร้อนในร่างกาย
 
 
เส้น 46 ⟶ 47:
เนื่องจากโมโนทรีมสืบเผ่าพันธุ์มาจาก[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ที่แยกตัวออกไปกลุ่มแรกๆ มันจึงมีทั้งลักษณะของสัตว์จำพวก[[จิงโจ้]] สัตว์ที่มีรกในครรภ์ แล้วยังรักษาลักษณะของ[[สัตว์เลื้อยคลาน]] และสัตว์จำพวก[[นก]]เอาไว้ด้วย
 
โมโนทรีมมีช่องสืบพันธุ์ ช่องถ่ายอุจจาระ และช่องถ่ายปัสสาวะ ร่วมกันเพียงช่องเดียว ซึ่งคล้ายกับของ[[สัตว์เลื้อยคลาน]] แต่เป็นลักษณะที่่ที่แตกต่างจาก[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]อื่นอย่างเด่นชัด [[นักวิทยาศาสตร]]์จึงนำลักษณะเด่นนี้มาตั้งชื่อ (โมโนทรีม = หนึ่งช่อง) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นมีช่องสืบพันธุ์ ช่องถ่ายอุจจาระ และช่องถ่ายปัสสาวะ แยกจากกันเป็นสามช่อง คือ ช่องสังวาส ช่องทวารหนัก และท่อปัสสาวะ ตามลำดับ
 
ระบบสืบพันธุ์ของโมโนทรีม ในเพศผู้จะมีลักษณะคล้ายของสัตว์ที่มีรกในครรภ์ มีข้อแตกต่างประการเดียว คือ โมโนทรีมไม่มีถุงอัณฑะ เพราะลูกอัณฑะฝังอยู่ในช่องท้อง บริเวณใกล้ไต
 
ระบบสืบพันธุ์ของโมโนทรีมเพศเมียมีความแตกต่างจากของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ที่มีรกในครรภ์มาก โมโนทรีมมีรังไข่่คล้ายของรังไข่คล้ายของ[[นก]]หรือ[[สัตว์เลื้อยคลาน]] ใน[[ตุ่นปากเป็ด]]ตัวเมีย แม้จะมีรังไข่สองข้าง แต่ทำงานได้เฉพาะข้างซ้ายข้างเดียว ซึ่งเป็นลักษณะที่คล้ายกับของนก ส่วน[[อีคิดนา]]มีรังไข่ที่ทำงานได้ทั้งสองข้าง แต่โดยปกติจะผลิตไข่ออกมาแค่ครั้งละหนึ่งใบเท่านั้น ก่อนโมโนทรีมวางไข่ ไข่ของมันจะอยู่ในท้องแม่ระยะหนึ่งก่อน นานประมาณเกือบหนึ่งเดือน [[อีคิดนา]]มีีมีถุงหน้าท้องคล้ายของสัตว์จำพวก[[จิงโจ้]] เพื่อใช้เป็นที่กกไข่และเลี้ยงพักเกิ้ล (puggle - ลูกอ่อนของโมโนทรีม)
 
โมโนทรีมมี[[ต่อมน้ำนม]]ที่หลั่ง[[น้ำนม]]ได้ มีระบบท่อน้ำนมคล้ายของสัตว์ที่มีรกในครรภ์ แต่โมโนทรีมไม่มีหัวนม น้ำนมจะไหลออกมาทางท่อเล็กๆแทน โมโนทรีมทุกสปีชีส์มีอายุยืน มีอัตราการขยายพันธุ์ต่ำ และมีระยะดูแลลูกอ่อนค่อนข้างนาน
 
โมโนทรีมพันธุ์ที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบันไม่มีฟัน แต่สำหรับ[[ตุ่นปากเป็ด]] ในวัยเด็กจะมีฟันกรามปลายแหลมสามซี่ ฟันกรามสามซี่นี้เป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่ฟันของตุ่นปากเป็ดจะหลุดไปเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ มันจึงพัฒนาปุ่มบดขึ้นมาที่ลิ้นและเพดานปาก เพื่อใช้บด[[อาหาร]]แทนการเคี้ยว ส่วนโมโนทรีมที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ซึ่งพบในรูป[[ฟอสซิล]]นั้น พบว่าในวัยผู้ใหญ่ก็มีฟันไว้สำหรับเคี้ยวอาหารด้วย แต่อย่างไรก็ตาม การศึกษาเมื่อไม่นานมานี้็นี้ชี้ว่าฟันกรามของโมโนทรีมไม่ได้พัฒนามาจากฟันกรามของสัตว์ที่มีรกในครรภ์ หรือสัตว์จำพวกจิงโจ้แต่อย่างใด
 
กระดูกขากรรไกรของโมโนทรีมมีลักษณะแตกต่างจากของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]อื่นๆ กล้ามเนื้อที่ดึงขากรรไกรให้เปิดก็แตกต่าง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่แท้จริงทุกชนิด กระดูกค้อน ทั่ง โกลน ในหูชั้นกลาง ซึ่งช่วยทำให้เกิดเสียงนั้น ยึดติดอยู่กับกะโหลกศีรษะ แทนที่จะวางอยู่ในกระดูกขากรรไกรเหมือนอย่าง cynodont และ synapsid ([[สัตว์เลื้อยคลาน]]ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่มีลักษณะคล้าย[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]) อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีการอ้างอีกเช่นกันว่า ในโมโนทรีมและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ออกลูกเป็นตัว กระดูกสามชิ้นนี้ไม่ได้พัฒนามาจาก cynodont และ synapsid
เส้น 65 ⟶ 66:
== โมโนทรีมที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน ==
 
แม้จะมีหลักฐานจาก[[ฟอสซิล]]ว่าโมโนทรีมเคยกระจายอยู่ในพื้นที่กว้างหลาย[[ทวีป]] แต่ปัจจุบันโมโนทรีมที่ยังมีชีิวิตอยู่ชีวิตอยู่ทั้งหมดอาศัยอยู่ใน[[ประเทศออสเตรเลีย]] และ[[ประเทศปาปัวนิวกินี]]เท่านั้น [[นักวิทยาศาสตร์]]ได้พบ[[ฟอสซิล]]ชิ้นส่วนกระดูกขากรรไกรของโมโนทรีม[[สปีชีส์]] ''Steropodon galmani'' อายุ 110 ล้านปี ที่ไลท์นิงริดจ์ [[นิวเซาท์เวลส์์]] [[ออสเตรเลีย]] แล้วยังพบ[[ฟอสซิล]]ของโมโนทรีมใน[[สกุล]] Kollilodon, Teinolophos, และ Obdurodon อีกด้วย ใน[[พ.ศ. 2534]] [[นักวิทยาศาสตร์]]พบฟอสซิลฟันของ[[ตุ่นปากเป็ด]] ในภาคใต้ของ[[ประเทศอาร์เจนตินา]] (ตอนนั้นตั้งชื่อว่า Monotrematum แต่ปัจจุบันจัดให้อยู่ใน[[สกุล]] Obdurodon)
 
โมโนทรีมที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบันมีเพียง 4 สปีชีส์ (มี 2 วงศ์ คือตุ่นปากเป็ดและอีคิดนา)
เส้น 104 ⟶ 105:
*วงศ์ Steropodontidae --- อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของวงศ์ Ornithorhynchidae เพราะมีความใกล้ชิดกับตุ่นปากเป็ดที่ยังมีชีวิตอยู่มาก
**สกุล Steropodon
***สปีชีส์ ''Steropodon galmani'' (พบที่ิที่นิวเซาท์เวลส์ ออสเตรเลีย อายุ 110 ล้านปี)
**สกุล Teinolophos
***สปีชีส์ ''Teinolophos trusleri'' ฟอสซิลอายุ 123 ล้านปี และเป็นฟอสซิลของโมโนทรีมที่มีอายุมากที่สุด