ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ่างล้างบาป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: gd:Amar-bàistidh, sl:Krstilnik
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ภาพ:Worms Dom st peter 012.JPG|220px|thumb|อ่างศีลจุ่มที่ [[มหาวิหารเวิมส์]] [[ประเทศเยอรมนี]]]]
เส้น 18 ⟶ 19:
อ่างศีลจุ่มในสมัยแรกๆ ออกแบบเพื่อให้ผู้ทำพิธีลงไปในน้ำทั้งตัว อ่างมักจะเป็นรูปกางเขนโดยมีบันไดขึ้นไปสามขั้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของ[[พระตรีเอกภาพ]] อ่างใหญ่เช่นนี้มักจะอยู่ในสิ่งก่อสร้างต่างหากจากตัววัด แต่เมื่อการทำศีลจุ่มสำหรับทารกมีบ่อยขึ้นอ่างศีลจุ่มก็เล็กลง ลัทธิที่ใช้วิธีลงไปทั้งตัวมักจะใช้คำว่า “อ่างศีลจุ่ม” สำหรับอ่างชนิดที่ลงไปทั้งตัว แต่[[นิกายโรมันคาทอลิก]]คำว่า “อ่างศีลจุ่ม” (baptism font) จะต่างกับคำว่า “ถังศีลจุ่ม” (immersion tank) คำว่า “ถังศีลจุ่ม” จะหมายถึงถังที่ผู้รับศีลลงไปได้ทั้งตัว
 
การทำศีลจุ่มทั้งตัวอาจจะทำในถัง สระ หรือทางน้ำธรรมชาติเช่น[[แม่น้ำ]] หรือทะเลสาปทะเลสาบ ผู้ที่จะรับศีลก็จะลงไปในน้ำทั้งตัวหรือ พระจะกดลงไปใต้น้ำ เป็นสัญลักษณ์ของความสิ้นสุดของสิ่งเดิมแล้วเกิดใหม่ตามที่กล่าวใน “จดหมายเหตุของ[[นักบุญพอล]]” ([[:en:Epistle to the Romans|Epistle to the Romans]])
 
ใน[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]พิธีรับศีลจุ่มจะจุ่มลงในน้ำสามครั้งแม้แต่สำหรับทารก (การพรมจะอนุญาตในบางกรณีเท่านั้น “[[:en:List of Latin phrases (F–O)#I|in extremis]]”) ฉะนั้นอ่างศีลจุ่มของนิกายออร์ธอด็อกซ์ตะวันออกจึงมักจะใหญ่กว่าทางตะวันตกและจะมีลักษณะเหมือน[[ถ้วยศักดิ์สิทธิ์]] (chalice) ซึ่งสำคัญตรงที่ว่าหลังจากที่ทารกรับศีลแล้วก็จะทำพิธีรับศีลมหาสนิท (Holy Communion) ต่อ อ่างศีลจุ่มก็มักจะทำจากหินหรือไม้ ระหว่างทำพิธีก็จะจุดเทียนสามแท่งรอบอ่างสำหรับพระตรีเอกภาพ น้ำที่ใช้เป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์ที่เรียกว่า “Theophany Water” เป็นน้ำที่ผ่านการเจิมระหว่างวันสมโภช Epiphany ในวันที่ ุ6 มกราคมของทุกปีเพื่อฉลองการมาปรากฏตัวของ[[พระเยซู]]ในร่างของมนุษย์ การเจิมก็จะเป็นสองขั้นๆ แรกจะเจิมอ่างศีลจุ่ม ขั้นที่สองจะเจิมน้ำที่ใช้ในอ่าง