ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา'''
 
เส้น 11 ⟶ 12:
ตามหลักแหล่งเงินได้นั้น ไม่สำคัญว่าบุคคลนั้นจะมีสัญชาติใด และไม่สำคัญว่าเงินได้พึงประเมินนั้นจะจ่ายจากหรือจ่ายในประเทศไทย หากมีเงินได้พึงประเมินในปีปฏิทินที่ผ่านมา จากหน้าที่งานหรือกิจการที่ทำในประเทศไทย หรือเนื่องจากกิจการของนายจ้างในประเทศไทย หรือเนื่องจากทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย บุคคลนั้น ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จากเงินได้พึงประเมินที่ได้รับตามบทบัญญัติในประมวลรัษฎากร
 
ในส่วนของหลักถิ่นที่อยู่ ผู้ที่อยู่ในประเทศไทยอย่างน้อย 180 วันในหนึ่งปีประดิิทินนั้นประดิทินนั้น ถือว่าเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย เมื่อมีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว จากหน้าที่งานหรือกิจการที่ทำในต่างประเทศ หรือ เนื่องจากทรัพย์สินที่อยู่ในต่างประเทศ ต้องเสียภาษีตามบทบัญญัติในประมวลรัษฎากร เมื่อนำเงินได้นั้นเข้ามาในประเทศไทย ในปีประดิทินเดียวกันกับที่ีที่ได้รับเงินได้พึงประเมินนั้น
 
 
เส้น 31 ⟶ 32:
 
#ค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะ ซึ่งลูกจ้างได้จ่ายไปโดยสุจริต ตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายทั้งหมดในการนั้น
#ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดไ้ว้ไว้ โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยอัตราค่าพาหนะและค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
#เงินค่าเดินทางซึ่งนายจ้างจ่ายให้ลูกจ้าง เฉพาะส่วนที่ลูกจ้างได้จ่ายทั้งหมด โดยจำเป็นเพื่อการเดินทางจากต่างถิ่นในการเข้ารับงานเป็นครั้งแรก หรือในการกลับถิ่นเดิมเมื่อการจ้างได้สิ้นสุดลงแล้ว แต่ข้อยกเว้นนี้ มิให้รวมถึงเงินค่าเดินทางที่ลูกจ้างได้รับในการกลับถิ่นเดิม และในการเข้ารับงานของนายจ้างเดิมภายในสามร้อยหกสิบห้าวัน นับแต่วันที่การจ้างครั้งก่อนได้สิ้นสุดลง
#การขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้มุ่งในทางการค้าหรือหากำไร แต่ไม่รวมถึงเรือกำปั่น เรือที่มีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป หรือแพ
เส้น 43 ⟶ 44:
เป็นต้น
 
== ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินไ้ด้ได้บุคคลธรรมดา ==
 
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่
 
#บุคคลธรรมดา
#ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่ีที่มิใช่นิติบุคคล
#ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีประดิทิน
#กองมรดกที่ยังมิได้แบ่ง
เส้น 54 ⟶ 55:
ในส่วนของคู่สามีภริยาที่ความเป็นสามีภรรยาคงอยู่ตลอดปีภาษีนั้น เงินได้ของภริยานั้นต้องนำมารวมกับสามีเพื่อการเสียภาษี ยกเว้นแต่เงินได้เนื่องจากจ้างแรงงานนั้น ภรรยาสามารถแยกยื่นเพื่อเสียภาษีเองได้
 
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}
[[หมวดหมู่:ภาษี]]
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}