ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาการระบาด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
ในช่วงต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] ได้มีการนำกระบวนการทางคณิตศาสตร์เข้ามาใช้ในวิชาระบาดวิทยาโดย[[โรนัลด์ รอสส์]] (Ronald Ross), แอนเดอร์สัน เกรย์ แม็คเคนดริค (Anderson Gray McKendrick) และคนอื่นๆ
 
การค้นพบที่ยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่งเกิดขึ้นในปี [[ค.ศ. 1954]] เป็นการตีพิมพ์การศึกษาของแพทย์ชาวอังกฤษ โดยริชาร์ด ดอลล์ (Richard Doll) และออสติน แบรดฟอร์ด ฮิลล์ (Austin Bradford Hill) ซึ่งค้นพบความสัมพันธ์กันอย่างยิ่งของการสูบ[[บุหรี่]]และการเกิด[[มะเร็งปอด]]
<!--
== The profession ==
 
== วิธีปฏิบัติทางระบาดวิทยา ==
To date, few [[universities]] offer epidemiology as a course of study at the undergraduate level. Many epidemiologists are [[physicians]], or hold other postgraduate degrees including a [[Master of Public Health]] (MPH) , [[Master of Science]] or Epidemiology (MSc.) [[Doctorate]]s include the [[Doctor of Public Health]] (DrPH) , [[Doctor of Philosophy]] (PhD) , [[Doctor of Science]] (ScD) , or for clinically trained physicians, [[Doctor of Medicine]] (MD). In the United Kingdom, the title of 'doctor' is a honorary one conferred to those having attained the professional degrees of [[Bachelor of Medicine and Surgery]] (MBBS or MBChB). As public health/health protection practitioners, epidemiologists work in a number of different settings. Some epidemiologists work 'in the field', i.e., in the community, commonly in a public health/health protection service and are often at the forefront of investigating and combating disease outbreaks. Others work for non-profit organizations, universities, hospitals and larger government entities such as the [[Centers for Disease Control and Prevention]] (CDC) , the [[Health Protection Agency]], or the [[Public Health Agency of Canada]].
นักระบาดวิทยาทำงานเกี่ยวข้องกับการออกแบบการศึกษาทั้งจากการเฝ้าสังเกตไปจนถึงการทดลอง ซึ่งแบ่งออกเป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา, ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ (จุดประสงค์เพื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ศึกษาแล้วหรือจากสมมติฐาน), และระบาดวิทยาเชิงทดลอง (ซึ่งเทียบเท่ากับการทดลองในเชิงคลินิก หรือการทดลองรักษาหรือปัจจัยแทรกแซงในชุมชน) การศึกษาทางระบาดวิทยามีจุดประสงค์เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสปัจจัยเสี่ยง เช่น การดื่ม[[สุรา]]และสูบบุหรี่, เชื้อโรค, [[ความเครียด]], หรือ[[สารเคมี]] กับการป่วยหรือการตายโดยปราศจากอคติ การระบุความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุและผลกันระหว่างการสัมผัสปัจจัยเสี่ยงและผลลัพธ์เป็นแง่มุมสำคัญของวิชาระบาดวิทยา
 
ในทางระบาดวิทยาจะมีคำว่า 'epidemiologic triad' ซึ่งใช้อธิบายความเกี่ยวเนื่องกันของ ''ตัวให้อาศัย'' (Host), ''ตัวกระทำ'' (Agent), และ ''สิ่งแวดล้อม'' (Environment) ในการวิเคราะห์การระบาด
== The practice ==
 
== การอนุมานเกี่ยวกับสา้เหตุ ==
Epidemiologists employ a range of study designs from the observational to experimental and are generally categorized as descriptive, analytic (aiming to further examine known associations or hypothesized relationships) , and experimental (a term often equated with clinical or community trials of treatments and other interventions). Epidemiological studies are aimed, where possible, at revealing unbiased relationships between [[Exposure Assessment#Exposure|exposures]] such as alcohol or smoking, [[infections|biological agents]], [[stress (medicine)|stress]], or [[Chemical compound|chemicals]] to [[death|mortality]] or [[morbidity]]. Identifying causal relationships between these exposures and outcomes are important aspects of epidemiology. Modern epidemiologist use [[disease informatics]] as a tool.
แม้ว่าวิชาระบาดวิทยาในบางครั้งจะเป็นเหมือนกลุ่มของเครื่องมือทางสถิติเพื่อช่วยในการหาความสัมพันธ์ของปัจจัยเสี่ยงและผลลัพธ์ทางสุขภาพ แต่การจะทำความเข้าใจให้ลึกลงไปในศาสตร์แขนงนี้คือการค้นหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับสาเหตุ (causal relationships)
 
แทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่จะทำนายอย่างถูกต้องแม่นยำว่าระบบทางกายภาพที่ง่ายที่สุดจะแสดงอย่างไรในอนาคตข้างหน้า เช่นกันกับสาขาวิชาที่ซับซ้อนอย่างระบาดวิทยา ซึ่งต้องอาศัย[[ชีววิทยา]], [[สังคมศาสตร์]], [[คณิตศาสตร์]], [[สถิติศาสตร์]], [[มานุษยวิทยา]], [[จิตวิทยา]] และ[[นโยบาย]] จึงมีคำกล่าวโดยทั่วไปในงานเขียนเชิงระบาดวิทยาว่า "ความสัมพันธ์กันไม่ได้บอกเป็นนัยถึงความเป็นเหตุผลกัน" สำหรับนักระบาดวิทยาจะใช้ศัพท์ว่า [[การอนุมาน]] (inference) นักระบาดวิทยาจะรวบรวมข้อมูลและทฤษฎีต่างๆ เกี่ยวกับชีวเวชศาสตร์และจิตสังคมในวิธีทำซ้ำเพื่อสร้างหรือขยายความทฤษฎี, เพื่อทดสอบสมมติฐาน, และเพื่อการศึกษา เพื่อยืนยันว่าความสัมพันธ์ใดที่เป็นเหตุเป็นผล และเป็นเหตุเป็นผลกันอย่างไร นักระบาดวิทยา รอธแมนและกรีนแลนด์ (Rothman and Greenland) ได้ให้ความสำคัญว่า ความเข้าใจที่ว่า "1 สาเหตุ - 1 ผล" นั้นเป็นความเข้าใจที่ผิด ผลลัพธ์ส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็นการป่วยหรือการตายนั้นมีสาเหตุมาจากสาเหตุย่อยๆ หลายอย่างประกอบกันเป็นห่วงโซ่หรือโครงข่าย
The term 'epidemiologic triad' is used to describe the intersection of ''Host'', ''Agent'', and ''Environment'' in analyzing an outbreak.
<!--
 
== As causal inference ==
 
Although epidemiology is sometimes viewed as a collection of statistical tools used to elucidate the associations of exposures to health outcomes, a deeper understanding of this science is that of discovering ''causal'' relationships.
 
It is nearly impossible to say with perfect accuracy how even the most simple physical systems behave beyond the immediate future, much less the complex field of epidemiology, which draws on [[biology]], [[sociology]], [[mathematics]], [[statistics]], [[anthropology]], [[psychology]], and [[policy]]; "[[Correlation does not imply causation]]" is a common theme for much of the epidemiological literature. For epidemiologists, the key is in the term [[inference]]. Epidemiologists use gathered data and a broad range of biomedical and psychosocial theories in an iterative way to generate or expand theory, to test hypotheses, and to make educated, informed assertions about which relationships are causal, and about exactly how they are causal. Epidemiologists Rothman and Greenland emphasize that the "'''one cause - one effect'''" understanding is a simplistic mis-belief. Most outcomes — whether disease or death — are caused by a chain or web consisting of many component causes.
 
=== Bradford-Hill criteria ===