ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9:
การวินิฉัยหรือการรักษาพยาบาลที่ให้แก่ผู้ป่วย [[แพทย์]]ผู้ทำการรักษาจะต้องวินิจฉัยและวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเจ็บป่วยด้วยความเหมาะสม เพื่อเป็นแนวทางในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยรายอื่น ๆ ที่ได้รับการวินิจฉัยแบบเดียวกันหรือมีอาการคล้าย ๆ กัน เพื่อให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยมีประสิทธิภาพดีขึ้น อีกทั้งเป็นการพัฒนาความรู้ทางการแพทย์อีกด้วย การตรวจสอบชิ้นเนื้อทางกล้องจุลทรรศน์ นอกจากจะมีประโยชน์ในด้านการวินิจฉัยในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยแล้ว ยังมีประโยชน์ในด้านที่สามารถใช้เป็นสิ่งยืนยันพยาธิสภาพที่ตรวจพบได้อย่างถาวร
 
สำหรับการผ่าศพทางนิติพยาธินั้น จะมุ่งเน้นเกี่ยวกับพยาธิสภาพของบาดแผล เพราะสาเหตุการตายเป็นหน้าที่ของ[[นิติพยาธิแพทย์]] ซึ่งสาเหตุของการตายมักเป็นการตายอย่างกะทันหันเช่น ผู้ตายถูกรุมทำร้ายจนถึงแก่ความตาย การเกิดอุบัติเหตุ [[การฆ่าตัวตาย]]หรือการตายโดยไม่ทราบเหตุ เพราะฉะนั้นประวัติทางด้านการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยอาจจะมีน้อยจนถึงน้อยมาก แต่ในบางรายผู้ตายไม่ได้ตายทันทีหลังเกิดเหตุ อาจจะได้รับการรักษาพยาบาลมาช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งในกรณีอย่างนี้ แพทย์ผู้รักษาต้องให้ความร่วมมือในการส่งรายละเอียด การรักษาพยาบาล การดำเนินโรค การเปลี่ยนแปลงของอาการตลอดจนผลการตรวจต่าง ๆ ทางห้องปฏิบัติการ เหมือนกับการส่งให้พยาธิแพทย์เช่นกัน และถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตาม[[กฎหมาย]]ด้วย พนักงานสอบสวนและผู้ชันสูตรพลิกศพสามารถส่งหมายเรียกให้แพทย์ผู้รักษามาให้ปากคำได้ถ้าแพทย์ผู้รักษาไม่ให้ความร่วมมือในการคลี่คลายคดี
 
== บาดแผลที่ปรากฏ ==